Nuclear Science
STKC 2555
บทความปี
l
2550
l
2551
l
2552
l
2553
l
2554
R&D Group
หน้า
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
91.
โครงการแมนแฮตตันเป็นอย่างไร How the Manhattan Project Worked?
ตอนที่ 2 ความเป็นไปของโครงการแมนฮัตตัน
ข่าวเกี่ยวกับนิวเคลียร์ฟิชชันได้แพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว จากยุโรปไปยังสหรัฐอเมริกา และในปี 1939 ห้องปฏิบัติการชั้นนำทางฟิสิกส์ในสหรัฐอเมริกา รวมทั้งห้องปฏิบัติการเออร์เนสต์ลอร์เรนซ์ ที่วิทยาเขตเบิร์กลีย์ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ได้มีการทดสอบดวามเป็นไปได้ ที่จะผลิตพลังงานด้วยยูเรเนียม
92.
10 อันดับสุดยอดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
Top 10 biggest nuclear power plants in the worldจุดเริ่มต้นของโครงการ
พลังงานอะตอมหรือพลังงานนิวเคลียร์ได้ถูกจ่ายส่งเป็นพลังงานไฟฟ้า ไปยังบ้านเรือนนับหลายล้านหลังรอบโลกของเรา ข้างใต้นี้ก็คือ 10 อันดับสุดยอดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก เมือเปรียบเทียบกับแหล่งผลิตไฟฟ้าอื่น ๆ พลังงานนิวเคลียร์จะมีผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมน้อยกว่ามาก
93.
ตำนานจากยุคอะตอม เรินต์เกนกับรังสีล่องหน
เชื่อหรือไม่ว่า ถ้าหากเรินต์เกนมองตรง ๆ ไปที่ฉากแบเรียมแพลทิโนไซยาไนด์ เขาจะไม่มีทางสังเกตเห็นแสงเรืองจาง ๆ ได้เลย แต่ตอนนั้นเขากำลังมองไปทางอื่น และแสงเรืองนั้นผ่านเข้ามาทางมุมขอบตาของเขา ซึ่งโฟกัสลงบนส่วนที่มีสภาพไวดีที่สุดบนจอตา (parafoveal region) และแสงเรืองราง ๆ นี้เองที่ทำให้เรินต์เกนค้นพบรังสีเอกซ์ ซึ่งเรียกอีกอย่างว่า รังสีล่องหน
94.
ตำนานจากยุคอะตอม ตำนานของเอมิล กรูเบ (ตอนที่ 1)
สิงหาคม 1933 จากจุดยืนทางประวัติศาสตร์โดยบริสุทธิ์ ผมสัญญาว่า บทความ (ฉบับต่อไป) จะเป็นหนึ่งในเอกสารว่าด้วยรังสีเอกซ์ที่สำคัญที่สุด เอมิล เอช. กรูเบ (?mil H. Grubb?) วารสารรังสีวิทยาปริทัศน์ (The Radiological Review) [Grubb? 1933a]
95.
ตำนานจากยุคอะตอม ตำนานของเอมิล กรูเบ (ตอนที่ 2)
ตอนที่ 1 ของตำนานนี้เล่าถึงการอ้างสิทธิ์ของ เอมิล กรูเบ ในวารสารรังสีวิทยาฉบับเดือนสิงหาคม 1933 ว่าเขาเป็นบุคคลแรกที่ใช้รังสีเอกซ์เพื่อจุดประสงค์ทางการรักษาโรค (employ x rays for therapeutic purposes) บุคคลแรกที่ได้รับบาดเจ็บจากรังสีเอกซ์ (injured by x rays) ตลอดจนเป็นบุคคลแรกที่ใช้กำบังรังสี (shielding) กรูเบประกาศว่า
96.
ตำนานจากยุคอะตอม แอลซอสกับทอเรียมของนาซี
ตำนานเรื่องนี้ดัดแปลงมาจากหนังสือชื่อว่า Alsos (แอลซอส) เขียนโดยแซมมวล กูดสมิต (Samuel Goudsmit) ของสำนักพิมพ์ เฮนรี ชูแมน อิงค์ (H. Schuman Inc.) นิวยอร์ก พิมพ์เมื่อปี 1947 โดยมาเผยโฉมในจดหมายข่าวสมาคมฟิสิกส์สุขภาพ (Health Physics Society Newsletter) ฉบับเดือนธันวาคม 1996
97.
ตำนานจากยุคอะตอม ตำนานสี่เรื่องของจอร์จ เดอเฮเวชี : เรื่องที่ 1 สกัดตะกั่วออกไป
เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด (Ernest Rutherford) มักจะคุยโอ่อยู่บ่อยครั้งว่า (ผม) ไม่เคยให้โจทย์ที่แก้ไม่ได้แก่ลูกศิษย์แม้แต่คนเดียว (Wilson 1983) ยิ่งถ้าเขากำลังอารมณ์ดี เชื่อว่าเขาต้องพูดเช่นนี้ตอนที่ จอร์จ เดอเฮเวชี ก็อยู่ตรงนั้นด้วยอย่างแน่นอน
98.
ตำนานจากยุคอะตอม ตำนานสี่เรื่องของจอร์จ เดอเฮเวชี : เรื่องที่ 2 เฮเวชีกับเจ้าบ้านสตรี
ในระหว่างเฮเวชีกำลังหาประสบการณ์อยู่ที่แมนเชสเตอร์ เห็นได้ชัดว่าเฮเวชีค่อย ๆ ไม่มีความสุขกับบ้านพักที่เขาอาศัยอยู่ (เป็นเรื่องช่วยไม่ได้ เพราะสถานที่นี้รัทเทอร์ฟอร์ดเป็นคนแนะนำ) บางทีอาการอาหารไม่ย่อยบ่อย ๆ ของเขา ทำให้เขาช่างเลือกในการกินมากกว่าเคย
99.
ตำนานจากยุคอะตอม ตำนานสี่เรื่องของจอร์จ เดอเฮเวชี : เรื่องที่ 3 มาดื่มชากันเถอะ
ฤดูใบไม้ผลิปี 1913 เป็นช่วงที่เฮเวชีอยู่ระหว่าง ความดื่มด่ำกับการดื่มชาที่ห้องแล็บของภาควิชาฟิสิกส์ของมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ กับ เฮนรี เจ.จี. โมสลีย์ (Henry J.G. Moseley) ผู้ (มีชื่อเสียง) เป็นอมตะ ครั้งหนึ่งของการร่วมวงดื่มชา กับการเสวนาทฤษฎีโน่นนี่เรื่อยเฉื่อย ที่ดูเหมือนฤดูใบไม้ผลิชักนำมาสู่ทั้งสองคน
100.
ตำนานจากยุคอะตอม ตำนานสี่เรื่องของจอร์จ เดอเฮเวชี : เรื่องที่ 4 เฮเวชีกับนักบุญ
การศึกษาชะตากรรมของโมเลกุลของน้ำชงชา ดังที่เล่ามาแล้วในเรื่องที่ 3 ได้เบิกทางให้แก่เฮเวชีในการศึกษาต่อ ๆ มา ซึ่งจะได้พิสูจน์ว่าระบบทางชีวภาพทั้งหลายของร่างกายคนเรานั้น มันดำรงอยู่ในภาวะที่เป็น พลวัตสมดุล (dynamic equilibrium)