Nuclear Science
STKC 2555
บทความปี
l
2550
l
2551
l
2552
l
2553
l
2554
R&D Group
หน้า
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
11.
ลำดับเวลา 50 ปีแรกของรังสีเอกซ์และการป้องกันรังสีเอกซ์
1895 8 พฤศจิกายน วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (Wilhelm Konrad Roentgen) ค้นพบรังสีเอกซ์
1896 3 มกราคม เรินต์เกน เผยแพร่รายงานการค้นพบรังสีเอกซ์สู่สาธารณะ
12.
มาตราวัดเกี่ยวกับผลทางชีวภาพของการรับรังสี
มาตรา หรือ มาตราวัด (measure) ที่เกี่ยวข้องกับผลทางชีววิทยา เมื่อต้องปฏิบัติงานกับรังสีเอกซ์ และ รังสีแกมมา ได้แก่ เอกซ์โพเชอร์ (exposure) ปริมาณรังสี (dose) หรือ ปริมาณรังสีดูดกลืน (absorbed dose) ปริมาณรังสีสมมูล (dose equivalent) และ อัตราปริมาณรังสี (dose rate)
13.
ประวัติย่อการตรวจหาและการวัดรังสีชนิดก่อไอออน 1. เกริ่นนำ
รังสีชนิดก่อไอออน (ionizing radiation) ทำให้อะตอมหรือโมเลกุลที่ ไม่มีประจุ (neutral) เกิดมีประจุลบหรือประจุบวกได้ รังสีชนิดก่อไอออนที่รู้จักกันดีที่สุด ได้แก่ รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ และรังสีนิวตรอน โดยรังสีที่เป็นอนุภาคที่มีประจุ เช่น รังสีแอลฟา หรือรังสีบีตา มีผลให้เกิด การแตกตัวเป็นไอออน (ionization) ได้โดยตรง
14.
ประวัติย่อการตรวจหาและการวัดรังสีชนิดก่อไอออน 2. เครื่องตรวจหารังสีรุ่นแรก ๆ อันเนื่องมาจากการค้นพบรังสี
การค้นพบรังสีเอกซ์ ของชาวเยอรมันชื่อ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (Wilhelm Konrad Roentgen) เมื่อย่ำค่ำวันที่ 8 พฤศจิกายน 1895 เขาสังเกตพบรังสีเอกซ์ที่ตามองไม่เห็น จากการเรืองแสงสีเขียววูบวาบจาง ๆ ของแผ่นกระดาษแข็งฉาบด้วยสารเรืองแสง พลาติโนไซยาไนด์ (platinocyanide)
15.
ประวัติย่อการตรวจหาและการวัดรังสีชนิดก่อไอออน 3. ผลของรังสีด้านต่าง ๆ ที่เรียนรู้มาจากการค้นพบรังสี
นับจากการค้นพบรังสีเอกซ์โดย วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (Wilhelm Konrad Roentgen) เมื่อปลายปี 1895 และรังสีอื่น ๆ ในเวลาต่อมา นักวิทยาศาสตร์ได้สังเกตพบผลของรังสีและใช้ผลนั้น ๆ เป็นตัวตรวจหารังสีได้สำเร็จ ซึ่งโดยมากเป็นผลทางกายภาพของรังสี ได้แก่ การเกิดภาพถ่าย (photographic) การแตกตัวเป็นไอออน (ionization) และการเกิดแสงวับ (scintillation)
16.
ประวัติย่อการตรวจหาและการวัดรังสีชนิดก่อไอออน 4. วิวัฒนาการอุปกรณ์วัดรังสี : การถ่ายรูป
วิวัฒนาการของอุปกรณ์ตววจหาและวัดรังสี มีความแนบแน่นมากกับการค้นพบผลต่าง ๆ ของรังสี ในระยะเริ่มต้นของการค้นพบและการวิจัยเกี่ยวกับรังสี โดยยังเป็นหลักใหญ่ของการตรวจหารังสีที่ใช้มาจนปัจจุบัน ตลอดเวลาที่ผ่านมา อุปกรณ์ตววจหาและวัดรังสีผ่านการปรับปรุงมาหลายครั้งหลายหน และมีบุคคลมากมาย ที่มีส่วนร่วมในพัฒนาการสำคัญ ๆ
17.
ประวัติย่อการตรวจหาและการวัดรังสีชนิดก่อไอออน 5. วิวัฒนาการอุปกรณ์วัดรังสี : การเปล่งแสงวับ
18.
ประวัติย่อการตรวจหาและการวัดรังสีชนิดก่อไอออน 6. วิวัฒนาการอุปกรณ์วัดรังสี : การแตกตัวเป็นไอออน
19.
ประวัติย่อการตรวจหาและการวัดรังสีชนิดก่อไอออน 7. วิวัฒนาการอุปกรณ์วัดรังสี : ผลึกของแข็ง
20.
ประวัติย่อการตรวจหาและการวัดรังสีชนิดก่อไอออน 8. วิวัฒนาการอุปกรณ์วัดรังสี : วิธีจำเพาะอื่น ๆ