81. |
วิกฤตนิวเคลียร์ญี่ปุ่นเป็นอย่างไร ? How Japans nuclear Crisis works ?
แต่ละคนต่างมีความคิดเห็นต่างกันเกี่ยวกับอุตสาหกรรมพลังงานนิวเคลียร์ บางคนเห็นว่า พลังงานนิวเคลียร์เป็นเทคโนโลยีสีเขียวที่สำคัญ ที่ไม่มีการปลดปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ในขณะที่ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้จำนวนมหาศาล เป็นที่น่าเชื่อถือได้ โดยชี้ไปที่บันทึกความปลอดภัยที่ครอบคลุมชื่นชมมากว่าสองทศวรรษ |
82. |
การขโมยลูกระเบิดนิวเคลียร์ง่ายเพียงใด ? How easy is it to steal a nuclear bomb?
นับตั้งแต่การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมาและนางาซากิ และตามมาด้วยการแข่งขันทางด้านอาวุธนิวเคลียร์ ความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัยของอาวุธนิวเคลียร์ยังคงสร้างความคลางแคลงให้เรา ความคิดที่ว่าใครก็ได้ ได้ขโมยอาวุธอันตรายนี้ แล้วนำไปทำลายเป้าหมายเหมือนกับในนวนิยาย ที่ทำให้เรามีใจจดจ่อมานับไม่ถ้วน |
83. |
เวชศาสตร์นิวเคลียร์เป็นอย่างไร ? How Nuclear Medicine Works?
ในโรงพยาบาลหรือในโทรทัศน์ เราอาจเคยเห็นผู้ป่วยได้รับการบำบัดรักษามะเร็งด้วยการฉายรังสี และแพทย์ได้สั่งให้เข้าเครื่องกราดวิเคราะห์ (scan) เพ็ต (PET: positron emission tomography) เพื่อการตรวจินิจฉัยโรค วิธีการเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของการแพทย์แบบพิเศษ ที่เรียกว่า เวชศาสตร์นิวเคลียร์ (nuclear medicine) |
84. |
รังสีนิวเคลียร์เป็นนอย่างไร ? How Nuclear Radiation Works?
เราคงเคยได้ยินเกี่ยวกับเรื่องการแผ่รังสีทั้งจากในนวนิยายและในชีวิตจริง ตัวอย่างเช่น เมื่อ ยานอวกาศเอ็นเทอร์ไพรส์เดินทางไปยังดวงดาวต่าง ๆ จากเรื่อง ตลุยอวกาศ (Star Trek) ที่ลูกเรือมักจะได้รับคำเตือนให้ระวังในเรื่องระดับการแผ่รังสีที่เพิ่มขึ้น |
85. |
ซีเวิร์ต
หน่วย ซีเวิร์ต (sievert) มีสัญลักษณ์ Sv เป็น หน่วยอนุพัทธ์ (derived unit พูดง่าย ๆ ก็คือ หน่วยที่เกิดจากการบวก ลบ คูณ หารกันของ หน่วยฐาน หรือ base unit) ใน หน่วยเอสไอ (International System of Units; SI) ของ ปริมาณรังสีสมมูล (dose equivalent) |
86. |
ปริมาณรับรังสี : แค่นี้ ! แค่ไหน ?
ในช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์ทางรังสีที่ฟุกุชิมะประเทศญี่ปุ่น เริ่มตั้งแต่ต้นเดือนมีนาคม 2554 เมื่อเวลาผ่านไปก็มีข่าวว่าระดับรังสีเลวร้ายขึ้นเรื่อย ๆ โดยรอบ ๆ โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟุกุชิมะเคยมีระดับรังสีสูงขึ้นถึง 400 มิลลิซีเวิร์ตต่อชั่วโมง แล้วค่อยลดลง ว่าแต่รังสีระดับที่ว่านั้นมากหรือน้อยเพียงใด |
87. |
อันดับของขนาด : ปริมาณรับรังสี
ตารางนี้เปรียบเทียบอันดับของขนาด (order of magnitude) ของปริมาณรับรังสีจากน้อยไปหามากในหน่วยของ ปริมาณรังสีสมมูล (dose equivalent) คือ มิลลิซีเวิร์ต (millisievert หรือย่อว่า mSv คือ 1 ใน 1,000 ของซีเวิร์ต) สำหรับระยะเวลาของการรับรังสี (duration) |
88. |
เกรย์กับซีเวิร์ต และการป้องกันรังสี
สิ่งสำคัญ 2 ประการสำหรับ การป้องกันรังสี (radiation protection) ได้แก่ การวัดปริมาณรังสีที่ร่างกายดูดกลืน และการประเมินความเสี่ยงของการได้รับรังสีในปริมาณนั้น ดังนั้น จึงต้องมีหน่วย 2 อย่าง สำหรับการวัดและการประเมินในเชิงปริมาณ |
89. |
ความเป็นมาของหน่วยซีเวิร์ต
ซีเวิร์ต (sievert) เป็นหน่วยเอสไอพิเศษ โดยเป็นหน่วยของ ปริมาณรังสีสมมูล (dose equivalent) ที่นักฟิสิกส์สุขภาพ (health physicist) ใช้กัน เพื่อการปกป้องไม่ให้เราได้รับรังสี เช่น รังสีเอกซ์และรังสีแกมมา มากเกินไป หน่วยนี้ใช้สัญลักษณ์ Sv |
90. |
โครงการแมนแฮตตันเป็นอย่างไร How the Manhattan Project Worked?
ตอนที่ 1 จุดเริ่มต้นของโครงการ
เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 1945 พอล ทิบเบ็ตส์ (Paul Tibbets) นักบินเครื่องบิน B-29 ชื่อเอโนลาเกย์ (Enola Gay) ได้ทิ้งลูกระเบิดอะตอมที่เมืองฮิโรชิมา ลูกระเบิดลูกนี้มีชื่อเล่นเรียกกันว่า เจ้าหนูน้อย (Little Boy) โดยระเบิดมีแรงระเบิดเทียบเท่ากับระเบิดทีเอ็นที 15,000 ตัน ได้ทำลายบ้านเรือนภาคพื้นดินเกือบทุกหลังในรัศมีหนึ่งไมล |