Nuclear STKC
2554
บทความปี 2550 l 2551 l 2552 l 2553
หน้า
l
l
l
l
l
l
l
i
l
91.
วทน.12 : การเกิดรอยทางอนุภาคโปรตอนในพลาสติกพอลิคาร์บอเนตโดยการฉายนิวตรอน จากต้นกำเนิดนิวตรอน 241Am-Be
92. วทน.12 : แผ่นเส้นใยนาโนคอมโพสิตป้องกันรังสีเอกซ์
93. วทน.12 : การศึกษาคุณสมบัติการวัดรังสีของอิเมจิงเพลต
94. วทน.12 : การศึกษาผลต่อการเกิดแนวต้านการสูญเสียพลังงานและอนุภาคพลาสมาอันเนื่องจากฟลักซ์ความร้อน และความไม่เสถียรของฟลักซ์โดยใช้โมเดลแบบไบเฟอร์เคชัน
95. วทน.12 : การทดสอบโมเดลทำนายการเกิดเพเดสทัลสำหรับพลาสมาในโหมดประสิทธิภาพสูง ด้วยวิธีการให้เหตุผลแบบไขว้กับโทคาแมคเจ็ต
96. วทน.12 : อิทธิพลของสนามแม่เหล็กกับการทะลุทะลวงของเชื้อเพลิงแช่แข็งในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แบบฟิวชันทอร์ซูพรา
97. วทน.12 : การวิเคราะห์แก้วโบราณในประเทศไทยโดยใช้วิธีการทางนิวเคลียร์
98. วทน.12 : แหล่งจ่ายไฟฟ้าแรงดันสูงย่านความถี่ต่ำสำหรับการกำเนิดพลาสมาอุณหภูมิต่ำ
99. กึ่งหนึ่งของความร้อนใต้พิภพเกิดจากการสลายกัมมันตรังสี
“ความร้อนราวร้อยละ 50 ที่โลกปลดปล่อย เกิดจากการสลายกัมมันตรังสี (radioactive decay) ของบางธาตุ อาทิเช่น ยูเรเนียมและทอเรียม และจากธาตุผลผลิตจากการสลายกัมมันตรังสีของธาตุเหล่านั้น” นี่เป็นข้อสรุป ของกลุ่มนักฟิสิกส์นานาชาติกลุ่มหนึ่ง ซึ่งใช้อุปกรณ์ตรวจหาที่มีชื่อว่า KamLAND ของญี่ปุ่นสำหรับวัดฟลักซ์ (อัตราไหลต่อพื้นที่) ของจำนวนอนุภาคแอนตินิวทริโนที่ถูกปล่อยออกมาจากส่วนลึกใต้พื้นโลก
100. ไอโซโทปรังสีในการแพทย์ (Radioisotopes in Medicine)
เวชศาสตร์นิวเคลียร์เป็นสาขาหนึ่งในทางเวชกรรมที่ใช้ประโยขน์จากรังสี ในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำงาน ของอวัยวะที่เฉพาะเจาะจงของบุคคล หรือเพื่อใช้ในการบำบัดรักษาโรค โดยข้อมูลที่ได้มา จะช่วยให้แพทย์สามารถ วินิจฉัยอาการป่วยของคนไข้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยำ
101. เทคโนโลยีการพัฒนาพันธุ์พืชระดับอุตสาหกรรม
ในการประชุมวิชาการ International Botanical Congress 2011 ณ เมืองเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ดร. David A. Fischhoff ซึ่งเป็น technology strategy & development lead ของ Monsanto Company สหรัฐอเมริกา ได้รับเชิญบรรยายในหัวข้อ Technological Innovation for Tomorrow’s Crops หนึ่งใน plenary lecture
102. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ทอเรียม : อนาคตของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์หลังจากวิกฤตการณ์ฟุกุชิมะ The Future of Nuclear Power after Fukushima:Thorium Reactors?
ก่อนที่จะเกิดแผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์สึนามิที่ญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 การสำรวจความคิดเห็นพบว่า คนส่วนใหญ่คิดว่ามันเป็นเช่นนั้น คือ ปลอดภัย แต่จากการรั่วซึมและการแผ่รังสี ที่เป็นผลกระทบจากกรณีโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ ฟุกุชิมะ โลกก็ดูเหมือนจะเปลี่ยนความเห็นทันทีไปในทางตรงกันข้าม
103. ไอน์สไตน์ค้นพบ E = mc2 จริงหรือ ?
ใครคือผู้ค้นพบ E = mc2 ? คำถามนี้อาจไม่ง่ายอย่างที่คุณคิดจะตอบอยู่ก็เป็นได้ เพราะมีการเสนอรายชื่อ ยาวเหยียดของนักวิทยาศาสตร์ตัวจริงผู้ค้นพบสมการมวล-พลังงานที่ปัจจุบันเป็นเครดิตของแอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ คือมีรายชื่อนับจากเจมส์ คลาร์ก แมกซ์เวลล์ (James Clerk Maxwell) เจ้าของทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า (Maxwell’s electromagnetic theory) และ มักซ์ ฟอน เลาเอ (Max von Laue) เจ้าของแบบอย่างการเลี้ยวเบนเลาเอ (Laue diffraction pattern)
104. ทอเรียม : ทางเลือกที่ปลอดภัยกว่าสำหรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
ทอเรียมสามารถใช้เป็นแหล่งพลังงานที่สะอาดกว่าและมีปริมาณที่มากกว่ายูเรเนียม ความต้องการพลังงาน ของโลกมีปริมาณเพิ่มขึ้นโดยตลอด แต่ถูกจำกัดด้วยอุปทานของเชื้อเพลิงฟอสซิล และความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบ ของการปลดปล่อยแก๊สซคาร์บอนไดออกไซด์ในสภาพแวดล้อม ทำให้มีการกระตุ้นความสนใจเพิ่มขึ้นในการใช้ พลังงานนิวเคลียร์
105. การค้นพบใดของรัทเทอร์ฟอร์ดที่ยอดเยี่ยมที่สุด ?
เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 นี้เอง James Dacey ได้โพสต์บนเว็บไซต์ของ Physics World ในประเด็นเกี่ยวกับ เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด (Ernest Rutherford) เจ้าของฉายา “บิดาแห่งวิชาฟิสิกส์นิวเคลียร์” (father of nuclear physics) เรื่องเป็นดังนี้...