Nuclear STKC
2554
บทความปี
2550
l
2551
l
2552
l
2553
หน้า
1
l
2
l
3
l
4
l
5
l
6
l
7
l
8
i
9
l
10
1.
การพัฒนาบุคลากรและถ่ายทอดเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรให้เป็นผู้มีศักยภาพ และมีสมรรถนะตรงตามงานที่รับผิดชอบ เป็นหัวใจของการดำเนินงานให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย สทน. มุ่งมั่นในการสร้างเสริมและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านนิวเคลียร์และรังสีของประเทศ
2.
การพัฒนาบุคลากรและถ่ายทอดเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาบุคลากรและการถ่ายทอดเทคโนโลยี เป็นกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ต้องการให้บุคลากรภายในองค์กรมีประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานมากขึ้น ช่วยเพิ่มทักษะความชำนาญในการทำงาน ช่วย ปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรทุกระดับให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
3.
การพัฒนาบุคลากรและถ่ายทอดเทคโนโลยีนิวเคลียร์ สำหรับบุคลากรภายในสถาบัน ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาบุคลากรเป็นกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ที่ต้องการให้บุคลากรในแต่ละองค์กรมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานมากขึ้น ช่วยพัฒนาความรู้ความสามารถ เพิ่มทักษะความชำนาญในการทำงาน ช่วยปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรทุกระดับ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4.
การพัฒนาบุคลากรและถ่ายทอดเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ระดับประเทศสำหรับบุคลากรภายนอก ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาบุคลากร เป็นกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ที่ต้องการให้บุคลากรภายในองค์กรมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานมากขึ้น ช่วยเพิ่มทักษะความชำนาญในการทำงาน ปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรทุกระดับให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทำให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่
5.
การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในระบบสารสนเทศ
จากการที่หน่วยงานต่าง ๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ย่อมมีความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นได้หลายประการ ดังนั้น การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในจึงได้พัฒนาเทคนิคการตรวจสอบสารสนเทศ เพื่อให้สามารถก้าวทันกับเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ ๆ ที่เจริญเติบโตแบบไม่หยุดยั้ง
6.
คุณค่าของแหล่งผลิต
บ้านเราเป็นเมืองเกษตรกรรม เราจึงมีพืช ผัก ผลไม้ที่เราปลูกได้เองมากมายหลายอย่าง บางชนิดปลูกได้ในหลายพื้นที่ แต่ไม่ว่าจะเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขาย ต่างก็รู้กันดีว่าชนิดใดควรเลือกซื้อจากแหล่งไหน อยากจะได้ลองกองชั้นเลิศ รสหวาน ต้องลองกองตันหยงมัส เงาะนาสาร มังคุดคีรีวงศ์ ลิ้นจี่อัมพวา กระท้อนบางกรวย ทุเรียนเมืองนนท์ ส้มบางมด พริกไทยเมืองจันท์ ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลา
7.
การประชุมคณะทำงานจัดทำมาตรฐานอาหารฉายรังสี ครั้งที่ 2 (2nd ISO/TC34/WG10 Food Irradiation) ณ กรุงบัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา 3-5 พฤศจิกายน 2553
อาหารฉายรังสี (irradiated food) เป็นอาหารทั่วไปที่นำมาผ่านกระบวนการผลิตที่มีมาตรฐานเช่น GAP GMP หรือ HACCP ได้แก่ ผลไม้สด ผลไม้แห้ง อาหาร อาหารแช่แข็ง สมุนไพร เป็นต้น และนำมาใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี การฉายรังสีเช่น รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดโคบอลต์ 60 รังสีเอกซ์ที่ระดับพลังงานไม่เกิน 5 MeV รังสีอิเล็กตรอนจาก เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน ที่ระดับพลังงานไม่เกิน 10 MeV
8.
การประชุมวิชาการ IAEA Fusion Energy Conference ครั้งที่ 23 11-16 ตุลาคม 2553 ประเทศเกาหลีใต้
การประชุมวิชาการทางนิวเคลียร์ฟิวชันที่นับว่าเป็นงานใหญ่ระดับโลก ได้จัดขึ้นอีกครั้งหนึ่ง 2 ปีหลังจากการประชุม ครั้งก่อน ครั้งนี้การประชุมได้จัดขึ้นที่เมืองแดเจิน ซึ่งเป็นเมืองแห่งการพัฒนาทางด้านวิจัยและอุตสาหกรรมของเกาหลีใต้ โดยได้จัดควบคู่ไปพร้อมการนิทรรศการ Green Forum ซึ่งมุ่งเน้นแหล่งพลังงานสะอาดและมีความยืนยาว มีผู้เข้าร่วมการประชุมราว 1500 คน
9.
ใช้นิวทริโนตรวจหาเครื่องปฏิกรณ์ฟิชชันลับได้ ! Neutrinos could detect secret fission reactors
ถังน้ำมันที่มีมวลรวมกันหลายแสนตัน ที่ติดตั้งด้วยเครื่องตรวจหาอนุภาคนิวทริโน สามารถปล่อยให้ลอยอยู่นอกชายฝั่ง ทะเล เพื่อตรวจสอบหาเครื่องปฏิกรณ์แบบฟิชชันที่แอบลักลอบเดินเครื่องได้ นั่นเป็นแนวคิดของพวกนักฟิสิกส์ชาว ฝรั่งเศส ที่เสนอ ตัวค้นหาอันตรกิริยานิวทริโนลับ หรือ สนิฟ
10.
ลำดับเหตุการณ์ฉบับสมบูรณ์เรื่องโครงสร้างของอะตอม A Complete Timeline for Atomic Structure
การทดลองค้นหาโครงสร้างของอะตอมดำเนินไปอย่างยาวนาน มีผู้ทฤษฎีใหม่ ๆ อยู่เรื่อย ๆ และไม่ผ่านการพิสูจน์ ศตวรรษแล้วศตวรรษเล่าโครงสร้างของอะตอมก็ก้าวหน้ามาตลอด ต่อไปนี้คือลำดับเหตุการณ์ฉบับสมบูรณ์เกี่ยวกับ เหตุการณ์สำคัญในการวิจัยด้านโครงสร้างของอะตอม (atomic structure)