11. |
ลำดับเหตุการณ์เกี่ยวกับอนุภาคทางฟิสิกส์
|
12. |
ลาที กิโลกรัม Au revoir, kilogram
รอเบิร์ต พี. ครีส (Robert P Crease) ร่วมเป็นสักขีพยานหนึ่งในการตรวจสอบ กิโลกรัมมาตรฐานทางการของเอสไอ (official SI kilogram standard) ครั้งท้าย ๆ (ระบบหน่วยระหว่างประเทศ หรือ เอสไอ (International System of Units: SI) ตัวย่อ SI มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า Le Syst?me International d'Unit?s) |
13. |
การแก้วิกฤตการขาดแคลน Mo-99 ในระยะยาว โดยการใช้เครื่องเร่งอนุภาคที่ CERN ผลักดันการผลิต An accelerator- driven production of Mo-99 at CERN as along-term solution to the current world crisis in diagnostic medical imaging
ผู้รับการรักษามากกว่า 30 ล้านรายในหนึ่งปี ของการวินิจฉัยทางด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ที่ถูกภาวะคุกคามในวิกฤต ขาดแคลนนิวไคลด์กัมมันตรังสีที่สำคัญ Mo-99 ซึ่งจนถึงปัจจุปันวิกฤตการณ์น็้ ยังไม่มีวิธีการแก้ไขการขาดแคลนใน ระยะยาวและถาวร |
14. |
เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด อวยพรปีใหม่ 2554 |
15. |
มองดูอะตอมที่ขอบของแกรฟีน
สมบัติทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronic properties) ของอุปกรณ์ระดับนาโน (nanodevices) ขึ้นกับโครงสร้างขนาด สองสามอะตอมเป็นอย่างมาก ดังนั้น การที่สามารถจะระบุอะตอมเดี่ยว ๆ และสถานะทางอิเล็กทรอนิกส์ของมันได้ จึงมีความสำคัญเพิ่มขึ้น ๆ ในขณะที่อุปกรณ์ก็เล็กลง ๆ ถึงวันนี้ นักวิจัยชาวญี่ปุ่นสามารถวัด สเปกตรัมของอิเล็กตรอน (electronic spectra) ที่เปล่งจากอะตอมคาร์บอนเดี่ยวของแผ่นแกรฟีน (graphene) ได้แล้ว |
16. |
ภาพถ่ายเอกซเรย์ไขปริศนาอาหารมื้อสุดท้ายของหอยดึกดำบรรพ์
มกราคม ค.ศ. 2011 มีรายงานที่น่าสนใจจากกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสและอเมริกัน เกี่ยวกับภาพถ่ายเอกซเรย์ ของฟอสซิล แสดงให้เห็นถึงอาหารของสัตว์น้ำโบราณชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า แอมโมไนต์ (ammonite) สัตว์ที่ว่านี้เป็นกลุ่ม ของสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่สูญพันธุ์ไปแล้ว โดยได้รับการจำแนกให้อยู่ภายใต้ไฟลัมหอยหรือ มอลัสกา (Mollusca) อันหมายถึงสัตว์ที่มีลำตัวนิ่ม แอมโมไนต์นี้มีรูปร่างคล้าย หอยงวงช้าง (nautilus) และมีเปลือกแข็งหุ้ม |
17. |
เครื่องมือวัดอนุภาคนิวทริโนที่ขั้วโลกใต้เสร็จสมบูรณ์แล้ว
นักฟิสิกส์อนุภาคบางคนกำลังตื่นเต้นแบบเด็กผู้ได้ของขวัญคริสมาสต์ชิ้นใหญ่ เพราะเครื่องตรวจวัดอนุภาคนิวทริโน พลังงานสูงได้สำเร็จลงในที่สุด เมื่อวันที่ 18 ธันวาคมนี้ โดยนักวิทยาศาสตร์ได้นำตัวเซนเซอร์กลุ่มสุดท้ายของจำนวน ทั้งหมด 5,160 ตัว ลงสู่ใต้ธารน้ำแข็งของแอนตาร์กติก ด้วยความลึกเกินกว่า 1 ไมล์ |
18. |
การขาดแคลนไอโซโทปรังสีที่ใช้ในทางการแพทย์จะกลายเป็นเรื่องธรรมดา
การขาดแคลนอุปทานของ Mo-99 จะกลายเป็นเรื่องธรรมดาชาชินในช่วงทศวรรษหน้า เว้นแต่จะมีการดำเนินการ อย่างไดอย่างหนึ่งในระยะยาวที่จะแก้ปัญหา นั่นคือข้อสรุปหลักของรายงานจาก ทบวงการพลังงานนิวเคลียร์ [Nuclear Energy Agency (NEA)] ขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา ที่จัดพิมพ์โดย กลุ่มระดับบริหาร ของ NEA ว่าด้วยความมั่นคงด้านอุปทานของไอโซโทปทางการแพทย์ |
19. |
นักมาตรวิทยาพีระมิด
ในบทความคราวก่อนเรื่อง ลาทีกิโลกรัม หรือ Au Revoir, Kilogram (http://www.tint.or.th/nkc/nkc54/content-01/nstkc54-012.html) รอเบิร์ต พี. ครีส ได้เล่าถึงการจะเลิกใช้ แท่งมาตรฐานแพลทินัม-อิริเดียมที่กำหนดค่าของ 1 กิโลกรัม เปลี่ยนมาใช้ มาตรฐานทางธรรมชาติ มาคราวนี้ ครีส จะได้สะท้อนเสียงของ ขบวนการต่อต้านการปฏิรูป ยุคใหม่ (modern anti-reform movements) มาให้ฟังกัน ในความเพียรพยายามอย่างใหญ่เพื่อ ต่อต้านระบบเมตริก (anti-metric) เมื่อร้อยกว่าปีก่อน (เหตุการณ์ตอนปลายศตวรรษที่ 19) ที่จะใช้ พีระมิดใหญ่แห่งกีซา (Great Pyramid of Giza) ของอียิปต์ มาใช้เป็นฐานของระบบการวัด |
20. |
โรคกลัวรังสี : RADIOPHOBIA
หากคุณลองถามตัวเองหรือคนรอบข้าง ว่าเคยกลัวอะไรบ้างไหม คำตอบที่ได้ย่อมมีหลากหลาย บางคำตอบอาจทำให้ คุณต้องอมยิ้ม หรือไม่น่าเชื่อว่าสิ่งที่น่าจะเป็นเรื่องธรรมดาสำหรับเรา จะสามารถทำให้คนบางคนกลัวได้เป็นอย่างมาก จนแทบทนไม่ได้หรือต้องวิ่งหนีไปไกล ๆ เช่น กลัวตั๊กแตน กลัวเชื้อโรค กลัวเสียงกบร้อง กลัวเห็ด กลัวฟ้าแลบ |