51. |
คนท้องก็ฮัลโหลได้
การดำเนินชีวิตของคนในยุคปัจจุบัน เทคโนโลยีการสื่อสาร กลายเป็นสิ่งจำเป็นซึ่งขาดไม่ได้เสียแล้ว การติดต่อสื่อสารด้วย โทรศัพท์เคลื่อนที่หรือ มือถือ เป็นเรื่องปกติที่ใคร ๆ ก็ใช้กัน รวมทั้งผู้ที่กำลังตั้งครรภ์ แม้กระนั้นก็ตาม เรามักได้ยินกันอยู่เสมอว่า คลื่นรังสีจากมือถือ อาจทำอันตรายต่อทารกในครรภ์ได้ |
52. |
การใช้กะเพราเป็นยาต้านผลของรังสี
จากการใช้ กะเพรา (Tulsi) ในยาพื้นบ้านสำหรับแก้ไอ แก้ไข้ และอาการเจ็บป่วยบางอย่าง นักวิทยาศาสตร์อินเดีย ได้ใช้กะเพรา สำหรับรักษาผู้ป่วยที่มีอาการจากการได้รับรังสี โดยการทดสอบในเบื้องต้นแสดงผลการทดลองที่เป็นบวก |
53. |
เครื่องชั่งไวที่สุดในโลกสามารถวัดถึงระดับยอกโตกรัม (มวลของโปรตอน)
ทีมนักวิทยาศาสตร์จากสถาบันนาโนเทคโนโลยีแห่งคาตาลัน (Catalan Institute of Nanotechnology) ของประเทศสเปน กล่าวว่า อุปกรณ์นี้สามารถวัดการเปลี่ยนแปลงของมวลได้ถึงระดับยอกโตกรัม (yoctogram) หรือเทียบเท่ามวลของอนุภาคโปรตอน |
54. |
เครื่องสำรวจรังสีของเอ็นบีเอสในยุคแรก ๆ
เอ็นบีเอส คือ สำนักงานมาตรฐานแห่งชาติ (National Bureau of Standards: NBS) ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี ลอว์ริสตัน เทเลอร์ (Lauriston Taylor) แห่งเอ็นบีเอส เป็นคนแรกที่ผลิต เครื่องสำรวจรังสีแบบเคลื่อนย้ายได้ (portable survey meter) เมื่อปี 1929 อุปกรณ์นี้สามารถสับเปลี่ยน ห้องก่อไอออน (ionization chamber) ได้หลายขนาด ตามแต่ พิสัยของเอกซ์โเชอร์ (exposure range) ที่แตกต่างกัน |
55. |
ลูกกำพร้า
เป็นเรื่องน่าเศร้าที่พบลูกกำพร้ามากมายขนาดนั้น แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ไม่ปล่อยให้ความเศร้าเกาะกุมหัวใจ อยู่นานนัก พวกเขายังพากันอุทิศตัวเป็นพ่อและแม่บุญธรรมให้กับลูกกำพร้าเหล่านั้น มิหนำซ้ำยังพยายามหาสาเหตุ แห่งโศกนาฏกรรมนี้ด้วย |
56. |
รังสีเอกซ์แฉตีนงู !?!
เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยบุคคลที่นำเรื่องนี้มาเปิดเผยให้สาธารณชนได้รับรู้ คือ คุณ Alexandra Houssaye ส่วนต้นเรื่องเป็นงูเฒ่า วัย 95 ล้านปี นามว่า Eupodophis descouensi มีนิวาสถานอยู่ที่ประเทศเลบานอน |
57. |
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพลูโทเนียม Fact sheet on Plutonium
พลูโทเนียม เป็นสารกัมมันตรังสี เป็นโลหะธาตุที่มีเลขเชิงอะตอม 94 ค้นพบเมื่อปี 1940 ที่ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ (University of California, Berkeley) มีสมบัติฉพาะตัวที่ไม่เหมือนธาตุใดหลาย ๆ อย่าง ซึ่งทำให้มีทั้งประโยชน์อันมากมาย และอาจเป็นอันตรายอย่างเหลือหลายต่อการจัดการ |
58. |
วินิจฉัยไส้ติ่งอักเสบด้วยซีทีสแกนปริมาณรังสีต่ำ
คงจะเสียความรู้สึกไม่น้อย หากเราปวดท้องแล้วหมอจับผ่าไส้ติ่ง แต่ผลปรากฎว่า ไส้ติ่งมันไม่ได้อักเสบอย่างที่คิด ปัจจุบันการทำซีทีสแกนจึงได้กลายเป็นการตรวจที่โดดเด่น สำหรับการวินิจฉัย อาการไส้ติ่งอักเสบในผู้ใหญ่ แต่สำหรับผู้ป่วยที่มีอายุน้อย การได้รับรังสี (เอกซ์) จากการทำซีทีสแกน ยังเป็นที่น่ากังขากันอยู่ |
59. |
การผลิตน้ำมวลหนัก Heavy Water Production
น้ำมวลหนัก (D2O) เป็นส่วนสำคัญหลักของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ที่ใช้เพื่อการผลิตพลูโทเนียม จากยูเรเนียมธรรมชาติ ดังนั้นการผลิตน้ำมวลหนัก จึงต้องถูกเฝ้าตรวจสอบ และการส่งออกน้ำมวลหนัก จะต้องถูกควบคุม นอกจากนี้แหล่งที่มาของ ดิวเทอเรียม (deuterium) เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการผลิต ทริเทียม (tritium) และ LiD (Litium Deuterium) ซึ่งเป็นส่วนสำคัญสองส่วน ที่จำเป็นในการผลิต อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์ (thermonuclear weapons) |
60. |
ปริซึมซิลิคอนสามารถเบนรังสีแกมมา
แก้วเป็นวัสดุที่เราเลือกใช้สำหรับทำเลนส์ แก้วเองก็เหมือนกับวัสดุอื่น ๆ ที่มีองค์ประกอบเป็นอะตอมที่มี โครงสร้างเป็นอิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียสเล็ก ๆ ตรงกลางของอะตอม สำหรับวัสดุที่ทึบแสง อิเล็กตรอนเหล่านี้ จะดูดกลืนแสงไว้ หรือไม่ก็สะท้อนแสงกลับออกไป แต่สำหรับแก้วที่โปร่งใส อิเล็กตรอนพวกนี้จะเกิดการสั่น และผลักแสงออกไปในทิศทางที่ต่างไป |