Nuclear Science
STKC 2555
บทความปี
l
l
l
l
l
  R&D Group  
หน้า
101.
ตำนานจากยุคอะตอม การค้นพบธาตุแฟรนเซียม
วารสาร Scientific American ฉบับเดือนกรกฎาคม 1996 ประกาศว่า “นับเป็นครั้งแรกที่ทีมนักฟิสิกส์สามารถดักจับอะตอมแฟรนเชียม (francium) ไว้ได้ แฟรนเซียมเป็นธาตุเกิดในธรรมชาติ ที่มีน้อยที่สุด” การค้นพบครั้งนี้นับเป็นความสำเร็จสำคัญอย่างยิ่ง
102. แฟรนเซียม
แฟรนเซียม (Francium) เป็นธาตุทางเคมีที่มี สัญลักษณ์ Fr และมีเลขเชิงอะตอม 87 เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีกัมมันตภาพรังสีสูงมาก โดยสลายเป็นธาตุแอสทาทีน เรเดียม และเรดอน เนื่องจากเป็นธาตุในกลุ่มโลหะแอลคาไล (alkali metal) จึงมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนจำนวน 1 อนุภาค
103. พลังงานนิวเคลียร์ทำงานอย่างไร ? How Nuclear Power Works?
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งขอบเขต ระหว่างความคาดหวังที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของมนุษย์ชาติ และความกลัวที่ร้าวลึกที่สุดของมันในอนาคต ในทางหนึ่ง พลังงานอะตอมถูกกล่าวถึงว่าเป็นพลังงานสะอาด เป็นทางเลือกอิสระของมนุษย์ ที่จะปลดภาระออกจากห่วงของการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล ในอีกทางหนึ่งก็มีภาพลักษณ์ของภัยพิบัติอย่าง แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่ทำให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ของญี่ปุ่นพ่นไอน้ำกัมมันตรังสี
104. 10 อันดับภัยพิบัติ/อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ อันเลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์
ตามข้อกำหนดของทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA) ให้คำนิยามของอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และอุบัติเหตุการแผ่รังสีนิวเคลียร์/ภัยพิบัติทางนิวเคลียร์ ไว้ดังนี้คือ “เหตุการณ์ที่นำไปสู่ผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อผู้คน สภาพแวดล้อม หรือสถานที่ ตัวอย่างรวมถึงผลกระทบร้ายแรงต่อเฉพาะบุคคล
105. ตำนานจากยุคอะตอม แฟร์มีระดมยิงทองคำ กับเฮเวชีคิดค้นการอาบรังสีนิวตรอน
เมื่อปี 1914 เอช.จี. เวลลส์ (H.G. Wells) ได้ทำนายไว้ว่า การค้นพบ “กัมมันตภาพรังสีเทียม” หรือ “กัมมันตภาพรังสีทำขึ้น” (artificial radioactivity) น่าจะเกิดขึ้นได้ภายในปี 1933 ซึ่งเฟรเดริกและอีแรน โชลีโย กูรี (Frederic and Irene Joliot-Curie) ก็เกือบสำนองคำทำนายของเวลลส์ให้เป็นจริงได้
106. เรดอนแก๊สเป็นอย่างไร How Radon Works?
ถ้าท่านอาศัยอยู่ในบางส่วนของประเทศสหรัฐอเมริกา ท่านอาจตระหนักถึงภัยคุกคามจากการได้รับการแผ่รังสีจากแก๊สเรดอน แก๊สเรดอนเป็นแก๊สกัมมันตรังสีและภายในบ้านที่มีการปิดมิดชิด มีฉนวนหุ้มที่แน่นหนา ก็จะทำให้มีการสะสมความเข้มข้นของแก๊สนี้ได้มากขึ้น จนอาจก่อให้เกิดภัยคุกคามต่อสุขภาพของผู้พักอาศัยได้