1. |
วาทะของรัทเทอร์ฟอร์ด
ไคม์ ไวส์มันน์ (Chaim Weizmann) เป็นยิวที่เกิดในรัสเซีย (บริเวณที่ปัจจุบันคือประเทศ เบลารุส) เขาเป็นนักวิทยาศาสตร์และย้ายไปตั้งหลักที่ประเทศอังกฤษ โดยสอนวิชาเคมีที่ มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ |
2. |
การพลิกผันเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบบราวน์เห็นได้เป็นครั้งแรก
นับเป็นครั้งแรกที่มีทีมนักวิจัยในยุโรปประสบความสำเร็จ ในการสังเกตการเคลื่อนที่แบบบราวน์ (Brownian motion) ซึ่งมีการทำนายผลเอาไว้มาหลายทศวรรษมาแล้ว โดยทีมวิจัยได้วัดว่าทรงกลมขนาดไมครอนมีปฏิสัมพันธ์ กับรอบตัวมันอย่างไร |
3. |
การหล่อย็นเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ How to Cool a Nuclear Reactor
อุบัติการณ์แผ่นดินไหวทำลายล้างของญี่ปุ่นทำให้เกิดปัญหาระบบทำให้เย็นของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ส่วนหนึ่งของประเทศ และได้มีการสั่งการให้หยุดเดินเครื่องเพื่อป้องกันการหลอมละลาย ของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ |
4 |
รางวัลโนเบลด้านวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์
รางวัลโนเบลเริ่มมีการมอบครั้งแรกตั้งแต่ ค.ศ. 1901 และมีหลายรางวัลที่มอบให้กับการวิจัยและวิชาการอุปกรณ์ ทางนิวเคลียร์ ซึ่งแตกออกไปหลายสาขาวิชา อาทิเช่น ฟิสิกส์อนุภาค นิวเคลียร์ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์กำลัง เวชศาสตร์นิวเคลียร์ |
5 |
ใช้ไวรัสสร้างวัสดุใหม่ ๆ
หลายปีมานี้ นักวิทยาศาสตร์ในสหรัฐอเมริกาได้ใช้ไวรัสมาสร้างวัสดุหลายอย่าง ที่คล้ายคลึงกับผิวหนัง และกระดูก เพื่อความเข้าใจอันถ่องแท้ใหม่ ๆ ว่า วัสดุดังกล่าวมีพัฒนาการอย่างไรในโลกธรรมชาติ ผลงานนี้จึงได้ทำให้ การผลิตเชิงสังเคราะห์เนื้อเยื่อในห้องปฏิบัติการ |
6. |
นอร์แมน แรมซีย์
นอร์แมน แรมซีย์ (Norman Ramsey) นักฟิสิกส์ชาวอเมริกันจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด เจ้าของ รางวัลโนเบลร่วม สาขาฟิสิกส์ เมื่อปี 1989 (รางวัลครึ่งหนึ่ง) เพิ่งเสียชีวิตไปเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน (2554) นี้เอง ด้วยวัย 96 ปี ผลงานของแรมซีย์เจาะลึกโครงสร้างของอะตอมด้วยความเที่ยงสูง |
7. |
สว่างไสวไปกับสาวเรเดียม : (Radium Girls)
ค.ศ. 2011 นับเวลาได้ครบ 113 ปีเต็ม ที่โลกได้รู้จักธาตุเรเดียม (Radium) สารกัมมันตรังสีที่นำมา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในวงการวิทยาศาสตร์และการแพทย์ทั่วโลก และยังเป็นปีแห่งการฉลองครบรอบ 100 ปี ที่มาดามคูรี ได้รับรางวัลโนเบลในสาขาเคมี |
8. |
น้ำสูงสองฟุตท่วมบางส่วนของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์กำลังเนบราสกา แต่กำแพงน้ำฉุกเฉินปกป้องอุปกรณ์ไฟฟ้าไว้ได้
23 มิย. 2011 มีรายงานข่าวจาก ABC NEWS ถึงเหตุการณ์น้ำ ได้ท่วมขึ้นถึง 2 ฟุต ในบางส่วนของ เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์กำลัง Fort Calhoun nuclear plant ถึงแม้ว่ารอบบริเวณจะมีระบบป้องกันโดยมีเขื่อนสูงแปดฟุต และฐานกว้างสิบหกฟุต แต่ก็ยังมีปริมาณน้ำสูงสองฟุตแทรกซึมเข้าไปในหลาย ๆ พื้นที่ของโรงงาน แต่เจ้าหน้าที่บอกว่า มันจะไม่มีผลกระทบหรือเป็นอันตรายทันทีต่อโรงงาน |
9. |
อาหารฉายรังสี : สภาวการณ์ของอาหารฉายรังสี
ในศตวรรษที่ 20 มีการศึกษาการใช้รังสีชนิดก่อไอออน (ionizing radiation) กับอาหารเพื่อปรับปรุง ความปลอดภัยทางจุลินทรีย์ และยืดอายุการเก็บกันอย่างกว้างขวาง แต่อย่างไรก็ตามงานวิจัยส่วนใหญ่ ประสบความสำเร็จก็แค่ในห้องปฏิบัติการ การนำไปใช้จริงทางการค้านั้นยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ส่วนการทดสอบความปลอดภัยของการบริโภค |
10. |
เกริ่น ๆ เรื่องการป้องกันรังสี
ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง อันตรายของรังสีเป็นเรื่องที่อยู่ในความสนใจ และส่วนใหญ่กังวลกันอยู่ในหมู่นักวิทยาศาสตร์และแพทย์กลุ่มเล็ก ๆ เพียงในระยะเวลาสั้น ๆ ในช่วงทศวรรษ 1890 ภายหลัง การค้นพบรังสีเอกซ์ และ ปรากฏการณ์กัมมันตภาพรังสี (radioactivity) ในธรรมชาติ |