Nuclear Science
STKC 2555
บทความปี
l
l
l
l
l
  R&D Group  
หน้า
21.
ประวัติย่อการตรวจหาและการวัดรังสีชนิดก่อไอออน 9. วิวัฒนาการอุปกรณ์วัดรังสี : บทสรุป
วิวัฒนาการของอุปกรณ์ตววจหาและวัดรังสีแต่ละประเภท มีการพัฒนาและปรับปรุงมาหลายครั้งหลายหน จะกินเวลายาวนานเพียงใด สามารถดูภาพรวมได้คร่าว ๆ ดังรูปด้านล่างนี้
22.
กำเนิดเครื่องสำรวจรังสี
นี่น่าจะใช่เครื่องสำรวจรังสี (survey meter) เครื่องแรกของโลก ปีนั้นคือ ค.ศ. 1928 ปีแรกของ ลอริสตัน เทเลอร์ (Lauriston Taylor) ที่ เอ็นบีเอส (National Bureau of Standards: NBS ปัจจุบันคือ เอ็นไอเอสที หรือ National Institute of Standards and Technology: NIST) บางทีอาจจะเป็นปีที่เขาได้รับปริมาณรังสีมากเป็นพิเศษ
23. สปินทาริสโคป (กล้องแสงวับ) : วิลเลียม ครูกส์ กับทะเลแสงเรืองอันปั่นป่วน
ลอนดอน ปี 1903 ขณะที่ เซอร์วิลเลียม ครูกส์ (Sir William Crookes) ผู้เป็นภาพของความงดงามยิ่งแห่ง สมัยวิกตอเรีย กำลังสนุกกับการสังเกต แสงเรือง (fluorescence) ที่รังสีแอลฟาจากเรเดียมผลิตบนฉากสังกะสีซัลไฟด์ อุบัติเหตุก็เกิดขึ้นเมื่อครูกส์ทำเรเดียมหก ความที่เร่งจะหาและเก็บเรเดียมกลับคืน เขาจึงส่องหาบนฉากด้วย
24. รังสีรักษาระยะใกล้ : Brachytherapy
อะไรคือ รังสีรักษาระยะใกล้ และมีวิธีการใช้งานอย่างไร (What is Brachytherapy and how is it used?) รังสีรักษาระยะใกล้ เป็นวีธีการหนึ่งของการใช้รังสีในการบำบัดรักษามะเร็ง การรักษาด้วยรังสีก็คือ การใช้ พลังงาน แบบหนึ่งที่เรียกว่า รังสีชนิดก่อไอออน อาศัยหลักการที่ว่ารังสีหรืออนุภาคใด ๆ ที่สามารถก่อให้เกิด การแตกตัวเป็นไอออน ได้ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อม ในตัวกลางที่รังสีผ่านไป เพื่อจะฆ่าเซลล์มะเร็ง และทำให้ เนื้องอกหดตัว ปริมาณเล็กลง
25. ภาพแผลในใจ
ความทรงจำในอดีต ย่อมมีกันทุกคน เหตุการณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าสุขหรือทุกข์ ถูกบันทึกเก็บไว้ในสมอง และสามารถเรียกออกมาได้ทุกเมื่อ แต่ใช่ว่าสมองจะจดจำทุกสิ่ง เฉพาะเหตุการณ์สำคัญที่มีผลกระทบต่อจิตใจ เท่านั้น ที่เราจะรู้สึกได้ถึงภาพเดิมที่ผุดขึ้นมาทุกครั้งที่ระลึกถึง
26. มารู้จักกับ “รังสีรักษาระยะใกล้ด้วยอัตราปริมาณรังสีสูง” Understanding High Dose Rate Brachytherapy
รังสีรักษาระยะใกล้แบ่งได้เป็นสองรูปแบบ คือ แหล่งกำเนิดรังสีอาจจะถูกสอดไส่ในร่างกายคนไข้แบบ “ถาวร” หรือ “ชั่วคราว” สองรูปแบบที่พบมากที่สุดของการรักษา คือ การรักษาแบบอัตราปริมาณรังสีต่ำ หรือ แอลอาร์ดี (low dose rate: LDR) ด้วยการฝังเมล็ดต้นกำเนิดรังสี “ถาวร”
27. อนุสาวรีย์ผู้สละชีพเพื่อรังสีเอกซ์และเรเดียม Monument to the X-ray and Radium Martyrs
ภายหลังการค้นพบรังสีเอกซ์และธาตุกัมมันตรังสีเรเดียม เมื่อปลายศตวรรษที่ 20 มนุษยชาติได้ทุ่มเทศึกษา และนำรังสีทั้งสองแหล่งนี้มาใช้ในทางวิทยาศาสตร์ และการแพทย์อย่างกว้างขวาง โดยยังไม่รู้ถึงภัย จากการได้รับรังสีแรง ๆ และนาน ๆ ทำให้มีผู้คนในแวดวงเหล่านี้เกิดอาการเจ็บป่วย จนแม้ถึงขั้นเสียชีวิต
28. ไอโซโทปรังสีคืออะไร และทำขึ้นได้อย่างไร ? Radioisotopes: What Are They and How Are They Made?
ไอโซโทปของธาตุใด ๆ นั้น คือ ทุกอะตอมซึ่งภายในนิวเคลียสมีจำนวนโปรตอนเท่ากัน จำนวนนี้เรียกว่า เลขเชิงอะตอม (atomic number) ซึ่งเป็นตัวบ่งบอกว่าเป็นธาตุอะไร และมีพฤติกรรมทางเคมีที่สอดคล้องกัน ของธาตุนั้น ๆ อย่างไรก็ตาม ไอโซโทปของธาตุใด ๆ จะมีจำนวนนิวตรอนในนิวเคลียสต่างกัน แต่มีจำนวน โปรตอน เหมือนกัน
29. ประวัติและพัฒนาการของการใช้รังสีรักษาด้วยอนุภาคชนิดต่าง ๆ
หลักการของ รังสีรักษา หรือ การรักษาด้วยรังสี (radiotherapy) คือ การให้รังสีในปริมาณที่ถูกต้อง และตรง จุดเป้าหมาย ในขณะที่เนื้อเยื่อบริเวณรอบ ๆ ต้องได้รับความเสียหายน้อยที่สุด ดังนั้น ความสำเร็จของการรักษา จึงขึ้นอยู่กับสมรรถนะ และความสามารถ ของเครื่องฉายรังสี ระบบการวางแผนการรักษา และเครื่องมือและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
30. 10 ลำดับอุบัติการณ์การเสียชีวิตจากรังสีอันเป็นที่กล่าวขวัญ
เกริ่นนำ

การได้รับสารพิษรังสี(radiation poisoning) หรือ การแพ้รังสี (radiation sickness) คือภาวะของการเกิด ความเสียหาย (damage) ต่อเนื้อเยื่อของอวัยวะในร่างกาย ซึ่งมีสาเหตุจากการได้รับ รังสีชนิดก่อไอออน (radiation sickness) โดยทั่วไปมักใช้ในกรณีที่เป็นปัญหา เฉียบพลัน (acute) จากการได้รับรังสีใน ปริมาณมาก (large dosage) ในช่วงเวลาสั้น ๆ อย่างไรก็ดี ก็ยังใช้ในกรณีการได้รับรังสี ปริมาณสูง (high dose) ซ้ำ ๆ กันต่อเนื่องด้วย