Nuclear Research and Developments
 
   
 
 
l
l
l
วทน.11
l  
 
 
การประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ครั้งที่ 11
"เทคโนโลยีนิวเคลียร์สู่สังคมไทย"
ระหว่างวันที่ 2-3 ก.ค. 2552
ณ หอประชุมมหิศร ธนาคารไทยพาณิชย์สำนักงานใหญ่
ผลงานที่นำเสนอในการประชุม
 
รหัส
ชื่อเรื่อง
ผู้เขียน
    สาขาชีววิทยาและการเกษตร (Biology and Agriculture Section; BA)  
1 BA01 ถั่วเหลืองสายพันธุ์กลายโปรตีนสูงโดยการฉายรังสี จิติมา  ยถาภูธานนท์
2 BA02 การเพิ่มความสามารถในการผลิตแคโรทีนอยด์ของXanthophyllomyces dendrorhous โดยนิวตรอนร่วมกับอัลตราไวโอเลต วชิราภรณ์  ผิวล่อง
3 BA03 การใช้รังสีแกมมาเพื่อกำจัดเชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อนในวัสดุพาหะที่ใช้ในการผลิตหัวเชื้อปุ๋ยชีวภาพ พรรณลดา ติตตะบุตร
4 BA04 การปรับปรุงคุณภาพปลากรอบปรุงรสทางด้านจุลินทรีย์ และประสาทสัมผัสโดยการฉายรังสีแกมมา ปัญชลี ประคองศิลป์
5 BA05 การปรับปรุงพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์ข้าวมาตรฐานโดยวิธีการก่อกลายพันธุ์ด้วยลำอนุภาค ประวิตร พุทธานนท์
6 BA06 ผลของแร่องค์ประกอบต่อการวิเคราะห์สัญญาณเทอร์โมลูมิเนสเซนซ์ของกระเทียมฉายรังสี อาทิตยา  สุขเกษม
7 BA07 การถ่ายทอดลักษณะกลายต้านทานโรคเส้นใบเหลืองจากการฉายรังสีแกมมาในกระเจี๊ยบเขียว กนกพร บุญศิริชัย
8 BA08 ผลของการฉายรังสีแกมมาต่อสาระสำคัญในน้ำมันหอมระเหยของอบเชยเทศ ปิยนุช ทองผาสุก
9 BA09 รังสีแกมมาไม่ก่อให้เกิดสารก่อมะเร็งในสมุนไพรที่ได้รับการฉายรังสี จารุณีย์ ทองผาสุก
10 BA10 การปรับปรุงคุณภาพด้านสุขอนามัยของปลาส้มฟักด้วยรังสีแกมมา ยุทธพงศ์ ประชาสิทธิศักดิ์
11 BA11 การทดลองวางตลาดเครื่องเทศฉายรังสี เสาวพงศ์ เจริญ
    สาขาสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย (Environment and Safety Section; ES)  
12 ES01 การวัดปริมาณกัมมันตภาพรังสีรวมแอลฟาในน้ำทะเลจากอ่าวไทย และทะเลอันดามันด้วยวิธีการตกตะกอนร่วม ยุทธนา ตุ้มน้อย
13 ES02 การประเมินค่ากัมมันตภาพรังสี ในดินบริเวณจังหวัดตรัง ประสงค์ เกษราธิคุณ
14 ES03 การตรวจวัดเบริลเลียม-7 ในผักตบชวาโดยวิธีแกมมาสเปกโทรเมตรี นพพร ยิ้มแฉล้ม
15 ES04 การตรวจวัดและวิเคราะห์ค่ากัมมันตภาพจำเพาะของ 226Ra 232Th และ 40K ในทรายชายหาดบริเวณชายหาดเฉวงอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประสงค์ เกษราธิคุณ
16 ES05 ความถี่การเกิดไมโครนิวเคลียสในผู้ปฏิบัติงานรังสี วันวิสา สุดประเสริฐ 
17 ES06 การวิเคราะห์นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่มีอยู่ตามธรรมชาติในมันสำปะหลังโดยวิธีแกมมาเรย์สเปกโตรสโคปี กนกพร ธรฤทธิ์
18 ES07 การวิเคราะห์ปริมาณโพแทสเซียมในปุ๋ยเคมีโดยการวัดรังสีแกมมา ด้วยหัววัดแบบสารกึ่งตัวนำชนิดเจอร์เมเนียมบริสุทธิ์สูง (HPGe) สมชาติ ปรางค์นอก
19 ES08 ไอโซโทปกัมมันตรังสีเรเดียม-226 และการแพร่กระจาย ในบริเวณแหล่งน้ำพุร้อน ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ซัยนะ เจะสะอิ
20 ES09 การเปรียบเทียบสัญญาณอิเล็กตรอนสปินเรโซแนนซ์ของแคลไซต์ธรรมชาติก่อนและหลังฉายรังสี ธิดารัตน์ วิชัยดิษฐ์
21 ES10 การวิเคราะห์ปริมาณ Ra-226, Cs-137 และ K-40 ในดินตะกอนบริเวณแหลมตะลุมพุก และฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช พรรณี พักคง
    สาขาวิศวกรรมและเทคโนโลยี (Engineering and Technology Section; ET)  
22 ET01 การพัฒนาระบบสแกนด้วยรังสีแกมมาพลังงานต่ำชนิดเคลื่อนย้ายได้สำหรับคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟี สุรกิจ ขาวแผ้ว
23 ET02 การพัฒนาระบบควบคุมเครื่องวิเคราะห์พลังงานแบบหลายช่องผ่านบลูทูธ ติรพัฒน์ สว่างโกศล
24 ET03 การสร้างฮิสโตแกรมความสูงสัญญาณพัลส์นิวเคลียร์ในหน่วยความจำด้วยชิพ FPGA สำหรับอุปกรณ์วิเคราะห์ความสูงพัลส์แบบหลายช่อง กมลทิพย์  พลอยกระจ่าง
25 ET04 การพัฒนาระบบบันทึกข้อมูลสำหรับเครื่องวิเคราะห์สัญญาณหลายช่องชนิดพกพาโดยใช้เอสดีการ์ด
Development of Data Storage System for Portable Multichannel Analyzer using SD Card
ธเนส  สุขสมพงษ์
26 ET05 ระบบนับโฟตอนชนิดตอบสนองเวลาช่วงสั้นสำหรับวัดประกายแสงจากสารอินทรีย์เรืองแสง สุวิทย์ ปุณณชัยยะ
27 ET06 ดิสคริมิเนเตอร์ชนิดตอบสนองเวลาช่วงสั้นแบบประหยัดสำหรับนับพัลส์นิวเคลียร์ โอภาส อิสสระชัย
28 ET07 การทดลองเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไหลของน้ำจากระบบการไหลเวียนตามธรรมชาติ แบบสถานะเดียวที่สภาวะคงตัว สมชาย เบ้าทอง
29 ET08 การพัฒนาโปรแกรมบันทึกข้อมูลพร้อมแสดงผลเชิงกราฟฟิคในการวัดรังสีแกมมาพร้อมกัน 12 หัววัด สำหรับการตรวจสอบกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมโดยเทคนิคสารรังสีติดตาม ธนรรจน์ แสงจันทร์
30 ET09 การพัฒนาโปรแกรมบันทึกและแสดงผลการวิเคราะห์หอกลั่นน้ำมัน ในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเทคนิคการส่งผ่านรังสีแกมมา ธนรรจน์ แสงจันทร์
31 ET10 การวิเคราะห์สภาวะการผลิตของหอกลั่นสารอะโรเมติกส์ด้วยเทคนิคการส่งผ่านรังสีแกมมา (2550-2552) ธนรรจน์ แสงจันทร์
    สาขาแพทย์และวิทยาศาสตร์การแพทย์ (Medicine and Medical Science; MS)  
32 MS01 ปริมาณรังสีที่บุคคลในครอบครัวได้รับจากผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษามะเร็งไทรอยด์ ในโรงพยาบาลด้วยไอโอดีน-131: กรณีศึกษา มลุลี ตัณฑวิรุฬห์
33 MS02 การตรวจ oncogenic osteomalacia ด้วย Tc-99m-HYNIC-TOC SPECT/CT ภาวนา ภูสุวรรณ
    สาขาพอลิเมอร์และเคมี (Polymer and Chemistry; PC)  
34 PC01 การย่อยแร่โมนาไซต์ด้วยด่าง เชาวเลข ชยวัฒนางกูร
35 PC02 การพัฒนาวิธีการสกัดแร่ซิลิเกตเพื่อใช้ตรวจสอบมันฝรั่งฉายรังสีด้วยเทคนิคเทอร์โมลูมิเนสเซนซ์ วรรณภา ธีระสาร
36 PC03 การวิเคราะห์รูปแบบการยึดจับของยูเรเนียม (VI) กับชั้นแร่ โดยเทคนิค time-resolved laser-induced fluoresce นิลส์ บาวมานน์
37 PC04 อิทธิพลของโดสรังสีแกมมาและสารเซนซิไทเซอร์ต่อสมบัติทางฟิสิกส์ของน้ำยางธรรมชาติฉายรังสี คมกฤษ   ฤทธิรงค์
38 PC05 ผลของรังสีต่อความเสถียรทางความร้อนของพอลิเมอร์ผสม ระหว่างพอลิแลคติคแอซิดและเซลลูโลสอะซิเตต เกศินี เหมวิเชียร
39 PC06 กราฟต์โคพอลิเมอไรเซชันของเมทิลอะคริเลตบนเส้นใยเซลลูโลสโดยการใช้รังสีแกมมา วรัญญา ภิบาลวงษ์
40 PC07 การศึกษาการใช้เซลลูโลสไตรอะซีเตตชนิดเติมสีเพื่อใช้เป็นเครื่องวัดปริมาณรังสีที่ใช้ในงานประจำ หริเนตร มุ่งพยาบาล
41 PC08 การสังเคราะห์ [125I] 2-aminophenylthio-5-iodo-N,N-dimethyl benzylamine เพื่อศึกษาการทำงานของตัวขนถ่ายสารสื่อประสาทซีโรโทนิน สมจิตต์  ปาละกาศ
42 PC09 การแยกยูเรเนียมจากน้ำทิ้งโดยใช้เรซินที่ชุ่มด้วยตัวสกัด TBP พิพัฒน์ พิเชษฐพงษ์
43 PC10 การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดแยกอิตเทรียมปริมาณน้อยให้มีความบริสุทธิ์สูง วิราณี  ศรีเวียง
44 PC11 การศึกษาสภาวะเหมาะสมในการเตรียม ไอโอดีน-131 ริทูซิแมบ โดยการไอโอดิเนชัน ด้วยคลอรามีน-ที นิภาวรรณ ปรมาธิกุล
45 PC12 การศึกษาเทคนิคการแยกสกัดบนแผ่นโครมาโตกราฟ และวิธีการตรวจประเมิน เพื่อการวิเคราะห์ Sr-90 ในผลผลิต Y-90 นิภาวรรณ ปรมาธิกุล
46 PC13 การศึกษาปริมาณธาตุในถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์โดยเทคนิคเชิงก่อกัมมันตภาพรังสีด้วยนิวตรอน วรพจน์ เพิ่มน้ำทิพย์
47 PC14 การผลิตวัสดุปลูกที่มีเถ้าหนักและเอฟจีดียิปซัมจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะ อรอนงค์ อาร์คีโร
    สาขาฟิสิกส์ (Physic: PS)  
48 PS01 การจัดระบบวัดรังสีพรอมต์แกมมาของ 241Am-Be เพื่อหาค่าพารามิเตอร์ เชิงเรขาคณิต พรรัตน์ ศรีวัสดิ์
49 PS03 การศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องโทคาแมคขนาดเล็ก ด้วยโปรแกรมแบบจำลองทางคณิตศาสตร์แบบรวม ยุทธพงศ์ เพียรโรจน์
50 PS04 การศึกษาผลการกีดกั้นการส่งผ่านภายในและบริเวณขอบของพลาสมาด้วยวิธีการจำลองในเครื่องปฏิกรณ์ ITER ยุทธพงศ์ เพียรโรจน์
51 PS05 การจำลองผลจากเครื่องโทคาแมค JET โดยรวมลักษณะขอบเขตการแพร่ด้านในและด้านขอบ บุญญฤทธิ์ ฉัตรทอง
52 PS06 การวิเคราะห์ลำนิวตรอนของเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณูวิจัย ปปว-1/1 วิเชียร  รตนธงชัย
53 PS07 การศึกษา Sawtooth Oscillations กับการให้พลังงานแบบ ECRH  ในพลาสมาของเครื่องโทคาแมค HL-2A ด้วยแบบจำลอง 1.5D BALDUR จิราภรณ์ พรมพิงค์
54 PS08 การพัฒนาโปรแกรมเพื่อคำนวณการจัดการเชื้อเพลิงในแกนปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แบบสามมิติและสองกลุ่มพลังงาน ธนรรจน์ แสงจันทร์
55 PS09 การควบคุมคุณภาพการผลิตต้นกำเนิดรังสีมาตรฐาน วิชชุตา ประดิษฐ์
56 PS10 การวิเคราะห์เชิงเรขาคณิตของการชนกันของนิวเคลียสที่พลังงานสูง รพพน พิชา
57 PS11 การศึกษาถึงผลของค่าความเป็นสามเหลี่ยมและกระแสพลาสมาต่อความสามารถของพลาสมา ในโทคาแมคโดยผ่านรหัสคอมพิวเตอร์ BALDUR รพพน พิชา
58 PS12 แบบจำลองการทำนายผลอุณหภูมิบริเวณ Pedestal สำหรับ Type III ELMy H-mode พลาสมา วรรณภา บัวงาม
59 PS13 อันตรกิริยาของแก้วตะกั่วบอเรตที่พลังงานรังสีแกมมา 662 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ จักรพงษ์ แก้วขาว
60 PS14 การพัฒนาแบบจำลองเงื่อนไขขอบเขตสำหรับ L-mode พลาสมา อภิชาติ ศิริวิทย์ปรีชา
61 PS15 การวัดและประเมินค่าการกระเจิงของระดับรังสีแกมมาอ้างอิง ในห้องปฏิบัติการวัดรังสีมาตรฐานทุติยภูมิ (SSDL) ด้วยระบบวัดแบบอิมเมจจิงเพลต อังศุมาลิน อินแตง
    สาขาการศึกษา (Education; ED)  
62 ED01 การพัฒนากระบวนการเรียนรู้และยุทธศาสตร์เมตาคอกนิชันของนักเรียน เกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม วราวรรณ  ศิริอุเทน