l
l
l
l
l
l
l

  กลุ่มวิจัยและพัฒนานิวเคลียร์
สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
 
l

โครงการวิจัย ปีงบประมาณ 2556

ปีงบประมาณ
 
 
 
 

จำนวน 30 โครงการ

  ชุดโครงการ 5 ชุดโครงการ (14 โครงการย่อย)
1.
การควบคุมโรคแอนแทรคโนสในพริกโดนเทคนิคทางรังสี (วิชัย ภูริปัญญาวานิช)
 
  1. การปรับปรุงพันธุ์พริกให้ต้านทานโรคแอนแทรคโนสโดยลำอิเล็กตรอน (วิชัย ภูริปัญญาวานิช)
  2. การพัฒนาสารละลายไคโตซานฉายรังสีสำหรับป้องกันโรคแอนแทรคโนสในพริก (คุณปรารถนา คิ้วสุวรรณ)
2.
การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพใบหม่อนและผลหม่อนด้วยเศษเหลือใช้จากไหม
 
  1. การศึกษาผลของซิริซินจากเศษเหลือใช้จากไหมต่อผลผลิตและคุณภาพผลหม่อน (วไลลักษณ์ แพทย์วิบูลย์)
  2. การศึกษาผลของไฟโบรอินจากเศษเหลือใช้จากไหมต่อผลผลิตและคุณภาพใบหม่อน (วิโรจน์)
3.
การพัฒนาแผ่นกรองเมมเบรนแทรคเอตช์สำหรับประยุกต์ใช้งานทางการแพทย์ (พิพัฒน์ พิเชษฐพงศ์ )
 
  1. การเตรียมแผ่นฟิชชันจากยูเรเนียมในแร่โมนาไซต์สำหรับการผลิตแผ่นกรองเมมเบรนแทรคเอตช์ (พิพัฒน์ พิเชษฐพงศ์)
  2. การผลิตแผ่นกรองเมมเบรนแทรคเอตช์ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน (วิเชียร รตนธงชัย)
  3. การทดสอบคุณสมบัติของแผ่นกรองเมมเบรนแทรคเอตช์
4.
การประยุกต์ใช้รังสีแกมมาเพื่อเพิ่มมูลค่ามะม่วงหาวมะนาวโห่ (วชิราภรณ์ ผิวล่อง)
 
  1. ผลของรังสีแกมมาต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสในมะม่วงหาวมะนาวโห่ (วชิราภรณ์ ผิวล่อง)
  2. ผลของรังสีแกมมาต่อคุณสมบัติทางจุลชีววิทยาของมะม่วงหาวมะนาวโห่ (จารุรัตน์ เอี่ยมศิริ)
  3. การเพิ่มมูลค่าเมล็ดมะม่วงหาวมะนาวโห่ด้วยรังสีแกมมา (สุรศักดิ์ สัจจบุตร )
  4. ผลกระทบการแปรรูปของมะม่วงหาวมะนาวโห่ต่อคุณค่าทางโภชนาการและสารต้านอนุมูลอิสระ (น้องนุช ศิริวงศ์ )
5.
การประยุกต์ใช้นิวเคลียร์และไอโซโทปเทคนิคเพื่อการประเมินความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ (ขนิษฐา ศรีสุขสวัสดิ์)
 
  1. เทคโนโลยีนิวเคลียร์และ Finger printing เพื่อการประเมินความเสี่ยงจากการกัดเซาะชายฝั่ง และการเคลื่อนย้ายของตะกอนบริเวณชายฝั่งทะเลภาคใต้ของประเทศไทย
  2. การสำรวจทางน้ำใต้ดินเพื่อประเมินการรั่วซึมของอ่างเก็บน้ำในพื้นที่คาสต์ บริเวณภาคเหนือ ด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์
  3. การประยุกต์ใช้ไอโซโทปเทคนิคในการประเมินความเสี่ยงภัยจากการกรัดกร่อนหน้าดินและดินถล่ม ในบริเวณพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย
 
โครงการเดี่ยว (โครงการต่อเนื่อง) 11 โครงการ
1.
การพัฒนาพันธุ์ข้าวทนดินเปรี้ยวด้วยลำอิเล็กตรอน (วิชัย ภูริปัญญาวานิช)
2.
การศึกษาพฤติกรรมของพลาสมาและปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชันแบบโทคาแมค ITER และ DEMO โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ CRONOS (รพพน พิชา)
3.
ผลของลำอิเล็กตรอนและรังสีแกมมาต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารแห้ง (สุชาดา เสกสรรค์วิริยะ)
4.
การกระจายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (เบอริลเลียม-7, ซีเซียม-137 และตะกั่ว-210 ในบริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยภาคเหนือ) (ขนิษฐา ศรีสุขสวัสดิ์)
5.
ความเป็นไปได้ของศักยภาพโพโลเนียม-210 ในหอยสองฝา ในการติดตามผลกระทบภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงต่อการเพาะเลี้ยงชายฝั่ง (บุญสม พรเทพเกษมสันต์)
6.
การสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริรยาแรเอิร์ทเพื่อใช้ในการผลิตไบโอดีเซล (ดุษฎี รัตนพระ)
7.
การพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรในจังหวัดนครนายกด้วยสารละลายไคโตซาน และสารละลายฮอร์โมนไหม (ปรารถนา คิ้วสุวรรณ)
8.
การพัฒนาชีวโมเลกุลสำหรับการวินิจฉัยมะเร็งตับด้วยเภสัชรังสี เฟส 1 (กนกพร บุญศิริชัย)
9.
การใช้กระบวนการทางรังสีพัฒนาแผ่นปิดแผลต้นแบบที่มีส่วนผสมของไคโตซานและโปรตีนไหม (สุชาดา พงษ์พัฒน์)
10.
การเตรียมเภสัชรังสีแกลเลียม-68 บอมบิซิน เปปไทด์ สำหรับตรวจวินิจฉัยต่อมลูกหมากด้วยแพทสแกน (นิภาวรรณ ปรมาธิกุล)
11.
การควบคุมแมลงวันผลไม้โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมันผสมผสานร่วมกับวิธีการอื่น : พื้นที่ต้นแบบจังหวัดแพร่เพื่อการพัฒนาสำหรับไม้ผลเชิงเศรษฐกิจ (วณิช ลิ้มโอภาสมณี)
 
  โครงการเดี่ยว (โครงการใหม่) 5 โครงการ
1.
การบ่งชี้แหล่งกำเนิดทางภูมิศาสตร์และระบุสายพันธุ์ข้าวหอมมะลิไทย (อาภรณ์ บุษมงคล)
2.
การพัฒนาวัสดุกำบังรังสีนิวตรอน (ศรินรัตน์ วงษ์ลี)
3.
การประยุกต์ใช้ไอโซโทปเทคนิคในการสำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาลในชั้นน้ำหินปูน บริเวณจังหวัดลพบุรีและสระบุรี (เกียรติพงษ์ คำดี )
4.
การประยุกต์ใช้ไอโซโทปเทคนิคเพื่อประเมินกลไกการเติมน้ำบาดาลในแอ่งเจ้าพระยาตอนบน (จังหวัด อุตรดิตถ์ พิษณุโลก และสุโขทัย (เกียรติพงษ์ คำด)
5.
การศึกษาคุณสมบัติ และองค์ประกอบของน้ำหมักจากสารสกัดโปรตีนไหม (ธีรนันท์ แตงทอง)