|
ประเภทงาน / ชื่อโครงการวิจัย |
ปี |
การนำผลงานไปใช้ประโยชน์ |
1. |
แผนการวิจัยการพัฒนาเภสัชรังสี เพื่อการวินิจฉัยการติดเชื้อ เพื่อบำบัดเนื้องอกของระบบ ประสาทและต่อมไร้ท่อ มี 3 โครงการย่อย |
2551-2553 |
สามารถให้บริการเภสัชรังสีแก่แพทย์ให้ สามารถทำการวินิจฉัยโรคได้อย่างถูก ต้องแม่นยำและ สามารถบำบัดโรค เนื้องอก/มะเร็งได้ อย่างมีประสิทธิผล |
|
1.1 |
การเตรียมสารเภสัชภัณฑ์รังสีสำเร็จรูป สำหรับ ติดฉลากด้วย TC99m เพื่อใช้วินิจฉัยการติดเชื้อ |
2551-2553 |
- การใช้ประโยชน์ของสารเภสัชภัณฑ์รังสี ทางด้านการแพทย์ โดยเฉพาะการตรวจวินิจฉัย โรคติดเชื้อที่สามารถระบุตำแหน่งได้ชัดเจน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการรักษาโรค ติดเชื้อให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป
- เป็นพื้นฐานสำคัญของงานวิจัย ในขั้นพรีคลินิก ซึ่งจะนำไปทดสอบกับคนไข้
|
|
1.2 |
การพัฒนาการผลิตไอโซโทปรังสี อิทเทรียม-90 เพื่อการใช้งานทางคลินิก |
2551-2553 |
- จะได้สารกัมมันตรังสี 90YCl3 ซึ่งมีศักยภาพ ในการเตรียมเป็นเภสัชรังสีสำหรับการบำบัด อาการปวดข้อ
- เป็นสารตั้งต้นในการวิจัยพัฒนาการเตรียม เภสัชรังสีชนิดใหม่ๆ สำหรับบำบัดเนื้องอก ที่อวัยวะต่างๆ
|
|
1.3 |
การติดฉลากและควบคุมคุณภาพของเภสัช รังสี ของอิเทรียม-90 เพื่อการบำบัดเนื้องอก ของระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ |
2551-2553 |
- ได้สภาวะที่เหมาะสมสำหรับการเตรียมเภสัช รังสีในความแรงรังสีระดับการใช้งานทางคลินิก
- ได้เภสัชรังสีเพื่อการบำบัดเนื้องอกของระบบ ประสาทและต่อมไร้ท่อ
|
|
|
|
|
|
2. |
ผลิตผลทางการเกษตรปลอดภัยด้วย เทคโนโลยีนิวเคลียร์ ณ ต. ตรอกนอง อ. ขลุง จ.จันทบุรี มี 2 โครงการย่อย |
2552-2555 |
เป็นแนวทางการผลิตการเกษตร ที่ปลอดภัยโดยวิธี ผสมผสานทางด้านเกษตรอินทรีย์และเทคโนโลยี นิวเคลียร์เพื่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนและการ มีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น |
|
2.1 |
การควบคุมแมลงวันผลไม้พื้นที่กว้างโดย เทคนิคการใช้แมลงวันที่เป็นหมันผสมผสาน ร่วมกับวิธีการอื่น ณ ต.ตรอกนอง อ. ขลุง จ.จันทบุรี |
2552-2555 |
สามารถลดการระบาดแมลงวันผลไม้ในพื้นที่ ปลูกไม้ผลของ ต.ตรอกนอง อ.ขลุง จ.จันทบุรี ให้อยู่ในระดับต่ำ ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย ทางเศรษฐกิจ |
|
2.2 |
การพัฒนาผลิตผลการเกษตรเชิงเกษตร อินทรีย์ ณ ต. ตรอกนอง อ.ขุลง จ.จันทบุรี |
|
สามารถทำให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยการใช้อินทรียวัตถุที่เหลือใช้มาทำปุ๋ยอินทรีย์ น้ำหมักชีวภาพ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อรักษาสภาพแวดล้อม ลดการใช้สารเคมี ทำให้ลดการนำเข้าจากต่างประเทศ |
|
|
|
|
|
3. |
อาหารและสมุนไพรปลอดภัยด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ มี 4 โครงการย่อย |
2552-2554 |
|
|
3.1 |
การปรับปรุงคุณภาพไวน์สมุนไพร ด้วยการฉายรังสี |
2552-2554 |
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการฉายรังสีไวน์ไป สู่ชุมชนของแต่ละจังหวัด ทำให้สร้าง ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีคุณภาพและช่วย เพิ่มมูลค่าของผลิตผลการเกษตรที่นำ มาแปรรูปเป็นไวน์ |
|
3.2 |
การพัฒนาศักยภาพการวิเคราะห์ชนิดของสาร ประกอบทางเคมีของสารหนูในตัวอย่างอาหาร โดยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ |
2552-2554 |
สามารถให้บริการวิเคราะห์ปริมาณสารหนูรวม และชนิดของสารประกอบทางเคมีชนิดต่างๆ ของสารหนูในตัวอย่าง อาหารและ/ตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อมที่มี สารดังกล่าวต่ำมาก ๆ |
|
3.3 |
การตรวจพิสูจน์อาหารฉายรังสี ด้วยวิธีทางฟิสิกส์ |
2552-2554 |
แก้ปัญหาในการดำเนินงานของหน่วยงาน ที่ทำการวิจัย เพื่อให้สถาบันฯ เป็นองค์กรที่ เชื่อถือและยอมรับได้ในการออกเอกสารการ วิเคราะห์ผลการตรวจพิสูจน์อาหารส่งออก และนำเข้าที่ผ่านการฉายรังสี โดยไม่แสดงฉลาก ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่เหมาะสม และได้มาตรฐานในระดับสากล เพื่อเป็น ข้อมูลทางวิชาการในการตรวจพิสูจน์อาหาร ฉายรังสีและไม่ฉายรังสี ในช่วงเวลาการเก็บ รักษาต่างๆ |
|
3.4 |
การวิเคราะห์ปริมาณธาตุองค์ประกอบที่จำเป็น และธาตุพิษในไวน์และสมุนไพรไทยโดยเทคนิค เชิงนิวเคลียร์ |
2552-2554 |
- เมื่อโครงการวิจัยนี้เสร็จสมบูรณ์ ข้อมูล และความรู้ที่ได้จากโครงการวิจัยนี้ ทำ ให้ทราบถึงปริมาณธาตุองค์ประกอบใน สมุนไพรชนิดต่างๆ ก่อนนำมาผ่าน กระบวนการทำเป็นไวน์
- เมื่อทำเป็นไวน์แล้วสามารถวิเคราะห์ หาปริมาณธาตุองค์ประกอบในไวน์ ทำ ให้เปรียบเทียบได้ว่าธาตุองค์ประกอบ เปลี่ยนไปหรือไม่ มีการปนเปื้อนใน ระหว่างกระบวน การผลิตไวน์หรือเปล่า
|
|
|
|
|
|
4. |
ผลของรังสีต่อสารสำคัญในสมุนไพร |
2551-2552 |
จะทราบผลของรังสีต่อสารสำคัญ ฤทธิ์ทางชีวภาพ สารก่อมะเร็งและความเป็น พิษหลังการได้รับรังสี 12 และ 18 เดือน |
|
|
|
|
|
5. |
โครงการพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยของ ปลาหมักพื้นบ้านโดยการฉายรังสีแกมมา |
2551-2552 |
- ช่วยให้ผู้ประกอบการผลิตปลาส้มฟัก และกุ้งจ่อม ได้เลขทะเบียนอาหารฉายรังสี จาก อย.
- ถ่ายทอดเทคโนโลยีการฉายรังสีปลา ส้มฟักและกุ้งจ่อมไปสู่ชุมชน
|
|
|
|
|
|
6. |
การพัฒนาศักยภาพการวิเคราะห์สารชีวพิษ (พิษอัมพาตจากหอย) โดยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ |
2550-2552 |
- พัฒนาศักยภาพให้กับห้องปฏิบัติการระดับ ท้องถิ่นจะช่วยส่งเสริมแผนงานเฝ้าระวังการ เกิดปรากฎการณ์น้ำเปลี่ยนสี โดยแพลงค์ตอน พืชที่เป็นพิษ
- ส่งเสริมงานวิจัยพิษปลาปักเป้าน้ำจืด Paralytic shellfish poisoning ของกรมประมง
|
|
|
|
|
|
7. |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางแป้งโดยใช้ เทคโนโลยีการฉายรังสีแกมมาเพื่อลดปริมาณ เชื้อจุลินทรีย์และการทดลองวางสู่ตลาด |
2552-2554 |
ผู้ประกอบการผลิตเครื่องสำอางค์ ในประเทศ ใช้เทคโนโลยีฉายรังสี ใน การแก้ไขปัญหา ปริมาณเชื้อจุลินทรีย์เกินมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ |
|
|
|
|
|
8. |
การชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์โดยบูรณาการ เทคนิคทางรังสีร่วมกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และเทคนิค ดีเอ็นเอ เครื่องหมายในข้าว สบู่ดำ กระเจี๊ยบเขียว และบัว มี 4 โครงการย่อย |
2552-2554 |
ได้สายพันธุ์พืชที่มีลักษณะทางการ เกษตรดีเด่นกว่าพันธุ์เดิม |
|
8.1 |
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโดยการฉายรังสีแกมมา และนิวตรอนเร็วร่วมกับการเพาะเลี้ยง อับละอองเกสร |
2552-2554 |
จะได้สายพันธุ์ข้าวหอม ที่มีผลผลิตสูงคุณภาพเมล็ดดี ต้านทานโรคและแมลงศัตรูข้าว ได้แก่โรคไหม้ และเพลี้ย กระโดดสีน้ำตาล ทำให้ลดการใช้สาร เคมี ลดต้นทุนการผลิตข้าวหรือสามารถ นำไปใช้เป็นพ่อแม่พันธุ์ ในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวต่อไป |
|
8.2 |
การชักนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ในสบู่ดำด้วยรังสี |
2552-2554 |
ได้พันธุ์สบู่ดำที่มีศักยภาพในการเพิ่ม ผลผลิตให้เกษตรกรและชุมชนปลูก เพื่อใช้ในการผลิตน้ำมันไบโอดีเซล สำหรับเป็นพลังงานทดแทนการนำเข้า น้ำมันจากต่างประเทศ |
|
8.3 |
การคัดเลือกกระเจี๊ยบเขียวพันธุ์กลายต้านทาน โรคไวรัสเส้นใบเหลืองและการพัฒนาดีเอ็นเอ เครื่องหมาย |
2552-2554 |
- เป็นองค์ความรู้ในการวางแผนงานวิจัยขั้น ต่อไป และสามารถนำไปใช้ ในการวางแผนการ ปรับปรุงพันธุ์โดยการผสมข้ามกับพันธุ์อื่น ได้ทันที
- ได้มาซึ่งดีเอ็นเอเครื่องหมาย สำหรับลักษณะ กลายต้านทานโรคเส้นใบเหลือง สามารถนำ มาประยุกต์ใช้ในการถ่ายทอดลักษณะและ การคัดเลือกเพื่อปรับปรุงพันธุ์กระเจี๊ยบเขียว และยังเป็นองค์ความรู้ เพื่อการต่อยอดงานวิจัย ในเชิงลึกด้วย
|
|
8.4 |
การศึกษาพันธุ์บัวฉายรังสี |
2552-2554 |
- ได้พันธุ์บัวหลวงหลากสีสัน โดยเฉพาะ สีเหลืองซึ่งไม่มีอยู่ในประเทศไทย
- ได้บัวหลวงพันธุ์ใหม่ๆที่ได้จากการผสม บัวหลวงสีเหลืองเข้ากับบัวหลวงสีขาว และสีชมพูของไทย
- ได้พันธุ์บัวสายชนิดใหม่ๆ โดยเฉพาะ บัวจงกลนีพันธุ์ใหม่
- ได้ทราบถึงความใกล้ชิดทางพันธุกรรม ในพืชตระกูลบัว
|
|
|
|
|
|
9. |
การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตแคโร ทีนนอยด์ของ Xanthophlilomyces dendorhous สายพันธุ์กลาย |
2551-2553 |
ได้สภาวะที่เหมาะสมในการเลี้ยงเชื้อ สายพันธุ์กลาย |
|
|
|
|
|
10. |
การปรับปรุงสายพันธุ์เห็ดฟางให้มีผลผลิตสูง หรือคุณภาพดีด้วยรังสีแกมมา |
2549-2552 |
การณ์ว่างานวิจัยนี้ทำให้ได้ผลผลิต เห็ดฟางเพิ่มขึ้น 5% และคาดหวังว่า มีผู้นำเชื้อเห็ดฟางสายพันธุ์ใหม่ไปใช้ เพาะในฟาร์มประมาณ 3% ของผู้ ผลิตทั้งหมดของประเทศ |
|
|
|
|
|
11. |
การใช้ยูเรเนียม และทอเรียมเพื่อพัฒนาผลิต เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ 4 แบบ (โครงการลักษณะ บูรณาการร่วมกับภาควิชานิวเคลียร์เทคโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
2552-2559 |
- เพื่อผลิตยูเรเนียม ทอเรียม และแร่เอิร์ทบางตัว ทั้งในรูปของออกไซต์ และโลหะเพื่อการพัฒนา สู่การวิจัยในด้านวัฎจักรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์
- การพัฒนาแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ การพัฒนา เม็ดเชื้อเพลิงที่ใช้ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ แบบที่ใช้ น้ำหล่อเย็น
|
|
|
|
|
|
12. |
การแยกยูเรเนียมจากการแปรสภาพแร่โมนาไซต์ ให้มีความบริสุทธิ์สูง |
2552-2553 |
สามารถเลือกใช้ตัวสกัด และการหนดสภาวะ ที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการสกัดแยก ยูเรเนียมโดยใช้ชุดสกัดสารด้วยของเหลว เช่น ชุดหอสกัด (extraction column) และ ชุดถัง ผสมและแยกตัว(mixer-settler) ได้ |
|
|
|
|
|
13. |
การศึกษาและทำนายผลของพลังงานฟิวชันใน เครื่องโทคาแมค ITER |
2551-2553 |
- มีเครือข่ายวิจัยและกลุ่มงานวิจัยทางด้าน พลาสมาและปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น
- มีแบบจำลองสำหรับทำนายผลของพลาสมา และปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น
|
|
|
|
|
|
14. |
การใช้ไอโซโทปและเคมีเทคนิคเพื่อปรับปรุงการ จัดการน้ำบาดาลลุ่มน้ำชีตอนบน ที่ จ.ชัยภูมิ |
2551-2556 |
- มีเครือข่ายข้อมูลน้ำบาดาลของลุ่มน้ำชี และ แหล่งอื่นที่ได้จากการวิจัย เพื่อเผยแพร่แก่ผู้สนใจ
- เพิ่มขีดความสามารถของหน่วยงานในการให้ บริการวิเคราะห์ทางด้านการประยุกต์ใช้ ไอโซโทป เทคนิคกับงานด้านอุทกวิทยา
|
|
|
|
|
|
15. |
การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ไอโซโทปเสถียรใน ตัวอย่างน้ำ และดิน ในอ่าวไทยตอนใน |
2552-2555 |
การประยุกต์ใช้เทคนิคนิวเคลียร์ เพื่อการติดตาม ตรวจสอบการแพร่กระจายของมลสารในอ่าว ไทยตอนใน และทราบถึงลักษณะการเคลื่อนย้าย ของมวลน้ำและมลสารตามฤดูกาลในอ่าวไทย ตอนใน ข้อมูลที่ได้สามารถนำไปสู่การลดมลภาวะ ของบริเวณที่ศึกษา |
|
|
|
|
|
16. |
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์เพื่อเพิ่ม มูลค่าในอุตสาหกรรมหม่อนไหม เฟสที่1 4 โครงการย่อย |
2551-2553 |
- ได้กรรมวิธีในการผลิตผงไหมที่มีคุณภาพ เหมาะสม และได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ที่ผลิตโดย มีผงไหมเป็นส่วนประกอบสำคัญอย่างน้อย
- ชนิด ที่สามารถถ่ายทอดสู่ภาคเอกชน ในเชิงพาณิชย์ได้
|
|
16.1 |
การปรับปรุงพันธุ์ไหมไทยเพื่อเพิ่มศักยภาพ ด้านการผลิตโปรตีนไหมด้วยรังสีแกมมา |
2551-2553 |
ภาคเอกชนและโรงงานอุตสาหกรรมสามารถนำ พันธุ์ไหมไทยที่ได้ใหม่มาผลิตผงไหม เพื่อใช้ ในประเทศหรือผลิตเพื่อส่งออกต่อไป |
|
16.2 |
การใช้โปรตีนไหมทำครีมสมานแผลและฟิล์ม ปิดแผล |
2551-2553 |
ผลของการวิจัยเป็นผลิตภัณฑ์ที่มี ประโยชน์ และทันสมัย เป็นการลด การเจ็บปวดให้แก่ผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี |
|
16.3 |
การใช้โปรตีนไหมทำวัสดุเคลือบผิวผลไม้และ ผลิตภัณฑ์อาหาร |
2551-2553 |
ได้ผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่จากโปรตีน ไหมไฟโบรอิน ซึ่งเมื่อนำไปใช้แล้วจะเป็นการลดการใช้สารเคมี ในขบวนการผลิตอาหาร |
|
16.4 |
การผลิตผงไหมเพื่อประยุกต์ใช้ทำผลิตภัณฑ์ |
2551-2553 |
ภาคเอกชนและโรงงานอุตสาหกรรมสามารถนำ พันธุ์ไหมไทยที่ได้ใหม่มาผลิตผงไหม เพื่อใช้ ในประเทศหรือผลิตเพื่อส่งออกต่อไป |
|
|
|
|
|
17. |
การวิเคราะห์กัมมันตภาพของอัญมณีฉายรังสี ด้วยอิมเมจจิงเพลท |
2552-2553 |
ได้เทคนิคการวัดกัมมันตภาพของอัญมณี ฉายรังสีโดยใช้อิมเมจจิงเพลท |
|
|
|
|
|
18. |
กระบวนการทางรังสีในการพัฒนาพอลิเมอร์ ธรรมชาติสำหรับการใช้ประโยชน์ในด้านสุข- ภาพและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 4 โครงการย่อย |
2552-2553 |
|
|
18.1 |
การพัฒนาแผ่นเมทิลเซลลูโลสไฮโดรเจล เวชสำอางโดยการฉายรังสีแกมมา |
2552 |
ได้กระบวนการที่เหมาะสมในการ ผลิตแผ่นเจลฉายรังสีที่ปราศจากวัตถุ กันเสียที่ อาจทำให้เกิดอาการแพ้ |
|
18.2 |
การเตรียมแผ่นไคโตซานไฮโดรเจลบรรเทาปวด โดยการฉายรังสีแกมมา |
2552 |
แผ่นเจลฉายรังสีที่มีคุณสมบัติเก็บ กักและปล่อยสารมาตรฐานและสาร สกัดจากสมุนไพร |
|
18.3 |
การเตรียมนาโนคอมพอสิตพอลิเมอร์ ที่ย่อยสลายได้ จากแป้งเพื่อประยุกต์ใช้ด้านบรรจุอาหาร |
2552 |
พัฒนาผลิตภัณฑ์นาโนคอมพอสิต ซึ่งย่อยสลาย ได้ในธรรมชาติ และมีความเป็นไปได้และ ความเหมาะสมที่จะนำไปประยุกต์ใช้เป็น บรรจุภัณฑ์อาหาร |
|
18.4 |
การพัฒนาตัวดูดจับโลหะ ที่มีหมู่ไฮดรอกซามิคแอซิค จากพอลิเมอร์ธรรมชาติโดยการกราฟด้วยรังสี |
2552 |
สามารถลดการนำเข้าเรซินซึ่งเป็นพอลิเมอร์ สังเคราะห์จากต่างประเทศ |
|
|
|
|
|
19. |
การวิจัยเพื่อความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อม โดย ใช้เทคโนโลยีแบบพึ่งพาตนเอง และไอโซโทปประยุกต์ มี 4 โครงการย่อย |
2551-2553 |
|
|
19.1 |
การศึกษาเบื้องต้นในการบำบัดน้ำเสียสังเคราะห์ ที่ปนเปื้อนด้วย 226Ra โดยใช้บึงประดิษฐ์ |
2551-2552 |
สามารถใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นเพื่อเป็นแนวทาง ในการใช้บึงประดิษฐ์ชนิด FWS ที่ออกแบบขึ้นใน การบำบัดน้ำ เสียสังเคราะห์ที่ปนเปื้อนด้วยสาร กัมมันตรังสี 226Ra |
|
19.2 |
การประยุกต์ใช้เทคนิคเชิงนิวเคลียร์ ในการทำนาย อัตราการชะล้างพังทลายของดินเหนือเขื่อน และ ผลกระทบต่ออัตราการสะสมของตะกอนในเขื่อน |
2551-2553 |
ทราบความสัมพันธ์ระหว่างอัตรา การชะล้าง พังทลายของดินเหนือเขื่อนกับอัตราการสะสม ของตะกอนในเขื่อนลำพระเพลิง |
|
19.3 |
การประเมินความเสี่ยงทางรังสีตามทางน้ำจาก การดำเนินงานของสถานีวิจัยนิวเคลียร์องครักษ์ ในสภาวะปกติและสภาวะฉุกเฉิน |
2551-2553 |
เป็นการพัฒนาความสามารถในการประเมิน วางแผน และจัดการ กรณีเหตุปกติและฉุกเฉินทางรังสี ต่อสภาพแวดล้อมของแหล่งน้ำซึ่งอาจเกิดจาก อุบัติเหตุหรือจงใจ |
|
19.4 |
การใช้เทคนิคเชิงนิวเคลียร์ เพื่อการศึกษาผลกระทบ ของตะกอนจากการชะล้างของคลื่นสึนามิต่อ สุขภาพของปะการังในระยะยาว |
2551-2553 |
ผลการวิจัย สามารถถูกนำไปขยายผลโดยนัก พัฒนาโมเดล เพื่อพัฒนาโมเดลการ เคลื่อนที่ ของทรายและ ตะกอน ซึ่งสามารถนำไปใช้ ในการ วางแผนลดผลกระทบจากการเกิด คลื่นสึนามิครั้งต่อไป |
|
|
|
|
|
20. |
การศึกษาองค์ประกอบธาตุในฝุ่นละอองอากาศ แหล่งกำเนิดและแนวโน้มมลภาวะทางอากาศ ในกรุงเทพและปริมลฑล |
2550-2552 |
ได้รายงานวิจัยที่แสดงผลการศึกษา คุณภาพอากาศ สภาวะ และแหล่งกำเนิดฝุ่นละอองในอากาศซึ่ง สามารถบ่งชี้ถึงปัญหามลพิษที่มีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชนได้ |
|
|
|
|
|
21. |
การวิจัยพัฒนาเครื่องมือวัดรังสีแอลฟาและ บีตารวม |
2552 |
- ได้อุปกรณ์วัดรังสีแอลฟา รังสีเบตารวม สำหรับการวัดรังสีในสิ่งแวดล้อม
- พัฒนาต้นแบบอุปกรณ์วัดรังสีให้ใช้ใน การตรวจวัดได้จริง ลดการนำเข้าจากต่างประเทศ
|
|
|
|
|
|
22. |
การศึกษาอิทธิพลของค่าความเป็นกรดและความ เข้มข้นต่อการบำบัดสารกัมมันตรังสี ซีเซียม-137 และสารละลายน้ำ โดยใช้วิธี Rizofiltration |
2552-2554 |
เพื่อเป็นแนวทางในการนำไปประยุกต์ใช้และ ขยายผลไปยังการบำบัดน้ำเสียจริงที่ปนเปื้อน สารกัมมันตรังสี 137Cs เช่น จากเตาปฏิกรณ์ปรมาณู |
|
|
|
|
|